Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3154
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSun Shulei-
dc.contributor.authorจันทร์สุดา ไชยประเสริฐ-
dc.contributor.authorJansuda Chaiprasert-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Doctor of Arts Programen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2024-10-27T09:21:08Z-
dc.date.available2024-10-27T09:21:08Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3154-
dc.descriptionการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 14 (14th Hatyai National and International Conference) วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุม Blue Ocean Hall อาคารคณะบริหารธุรกิจ โดย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ Online Conference : หน้า 427-439en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://www.hu.ac.th/conference/proceedings/doc/04%20%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%20Hu/16-Hu-102%20(427-439).pdfen
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพแทนคนชั้นล่างที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง หลังเที่ยงคืน ของ จำลอง ฝั่งชลจิตร ผู้วิจัยได้นำแนวคิดภาพแทน คู่ตรงข้าม คนชั้นล่าง และสตรีนิยมมาใช้เป็นแนวทาง ในการวิเคราะห์และเสนอผลการศึกษาด้วยวิธีการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า ภาพแทนคนชั้นล่างที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง หลังเที่ยงคืน มีอยู่ 2 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การดำรงชีวิตอย่างยากจนลำบาก โดยคนชั้นล่างยึดถือวัตถุมากกว่าการยึดถือจิตใจ และ 2) การถูกเหยียดหยามศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ได้แก่ ผู้หญิงถูกเหยียดหยามเป็นเหยื่ออยู่ภายใต้อำนาจของผู้ชาย คนชั้นล่างถูกเหยียดหยามที่จะต้อง ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้อำนาจจากคนชั้นสูงกว่าจนไม่มีสิทธิ์ในการต่อรอง และคนชั้นล่างมีการเหยียดหยามระหว่างกันen
dc.description.abstractThis article aimed to analyse representations of the lower class appreared in After Midnight, a novel by Chumlong Fungcholachit. Ideas of dual representations; lower classes; and feminism are guidances of the study. The findings were reported as a descriptive analysis. Two major representations of the lower class were found in the studied novel, including 1) the poor living and 2) the disgrafuceful. The lower class was a victim of destitute power, women were abused of their human dignity and controlled by male power. The lower class was disdained by the higher classes. Their living was beneath the power of others; they had no rights to negotiateen
dc.language.isothen
dc.rightsคณะกรรมการการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติen
dc.subjectชนชั้นล่างen
dc.subjectLower classen
dc.subjectสตรีนิยมen
dc.subjectFeminismen
dc.subjectขั้วตรงข้ามen
dc.subjectBinary oppositionen
dc.subjectOpposite pairen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.subjectหลังเที่ยงคืน (นวนิยายไทย) – ประวัติและวิจารณ์en
dc.subjectAfter Midnight (Thai fiction) – History and criticismen
dc.subjectนวนิยายไทยen
dc.subjectThai fictionen
dc.titleภาพแทนคนชั้นล่างที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง หลังเที่ยงคืน ของ จำลอง ฝั่งชลจิตรen
dc.title.alternativeRepresentations of the Lower Class Appeared in After Midnight, a Novel by Chumlong Fungcholachiten
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Liberal Arts - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Representations-of-the-Lower-Class-Appeared-in-After-Midnigh.pdf100.77 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.