Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3216
Title: มาตรการทางกฎหมายในการให้บริการรถยนต์ขนส่งผู้โดยสารสาธารณะผ่านระบบแอปพลิเคชัน
Other Titles: Legal Measure on Public Car Transportation Service Applications
Authors: ศิรินทร์พร ธารมัติ
Sirinporn Taramat
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law
Keywords: การขนส่ง -- ไทย
Transportation -- Thailand.
รถยนต์รับจ้าง
Taxicabs
โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mobile apps
รถแท็กซี่
กฎกระทรวงรถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2564
รถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
Issue Date: 2023
Publisher: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Abstract: รายงานการวิจัยเรื่องมาตรการทางกฎหมายในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ ผ่านระบบแอปพลิเคชัน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อมุ่งศึกษามาตรการทางกฎหมายและวิเคราะห์สภาพปัญหาเกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบในการกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการให้บริการรถยนต์ขนส่งผู้โดยสารสาธารณะผ่านระบบแอปพลิเคชัน โดยศึกษานิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชันกับผู้ขับขี่ว่าอยู่ในบังคับของกฎหมายฉบับใด และเพื่อให้ได้แนวทางในการพัฒนาระบบ การขนส่งสาธารณะที่เหมาะสมและเป็นธรรม รวมถึงได้แนวทางในการบังคับใช้กฎหมายให้เกิดประสิทธิภาพต่อไปในอนาคต ซึ่งใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารไปพร้อม ๆ กับการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ และนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการตีความรวมทั้งกำหนดประเด็นที่สำคัญเพื่อทำการเสนอแนะแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาต่อไป จากผลการศึกษาวิจัยพบว่าในปัจจุบันมีกฎหมายที่เข้ามากำกับดูแลในเรื่องของการนำรถยนต์มาให้บริการขนส่งผู้โดยสารสาธารณะผ่านระบบแอปพลิเคชัน คือ กฎกระทรวงรถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2564 ซึ่งให้ประชาชนทั่วไปสามารถนำรถยนต์ส่วนบุคคลมาให้บริการรับจ้างได้อย่างถูกต้องด้วยการรับงานจ้างผ่านทางระบบแอปพลิเคชัน โดยกฎกระทรวงรถยนต์รับจ้าง รายงานการวิจัยเรื่องมาตรการทางกฎหมายในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ ผ่านระบบแอปพลิเคชัน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อมุ่งศึกษามาตรการทางกฎหมายและวิเคราะห์สภาพปัญหาเกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบในการกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการให้บริการรถยนต์ขนส่งผู้โดยสารสาธารณะผ่านระบบแอปพลิเคชัน โดยศึกษานิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชันกับผู้ขับขี่ว่าอยู่ในบังคับของกฎหมายฉบับใด และเพื่อให้ได้แนวทางในการพัฒนาระบบ การขนส่งสาธารณะที่เหมาะสมและเป็นธรรม รวมถึงได้แนวทางในการบังคับใช้กฎหมายให้เกิดประสิทธิภาพต่อไปในอนาคต ซึ่งใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารไปพร้อม ๆ กับการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ และนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการตีความรวมทั้งกำหนดประเด็นที่สำคัญเพื่อทำการเสนอแนะแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาต่อไป จากผลการศึกษาวิจัยพบว่าในปัจจุบันมีกฎหมายที่เข้ามากำกับดูแลในเรื่องของการนำรถยนต์มาให้บริการขนส่งผู้โดยสารสาธารณะผ่านระบบแอปพลิเคชัน คือ กฎกระทรวงรถยนต์รับจ้าง ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2564 ซึ่งให้ประชาชนทั่วไปสามารถนำรถยนต์ส่วนบุคคลมาให้บริการรับจ้างได้อย่างถูกต้องด้วยการรับงานจ้างผ่านทางระบบแอปพลิเคชัน โดยกฎกระทรวงรถยนต์รับจ้าง เป็นนายจ้างกับลูกจ้างตามสัญญาจ้างแรงงาน ดังนี้เมื่อเกิดความเสียหายใด ๆ ขึ้นผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชัน ก็ไม่ได้มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องไปชดใช้เยียวยาความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎหมาย และการกำหนดให้ผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชันไม่สามารถจัดทำส่วนลดใด ๆ ที่ทำให้อัตรา ค่าโดยสารที่จัดเก็บต่ำกว่าอัตราค่าโดยสารขั้นต่ำที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ซึ่งการกำหนดดังกล่าวเป็นไปเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชันรายใหญ่ลดราคาจนทำให้ผู้ให้บริการระบบ แอปพลิเคชันรายเล็กไม่สามารถแข่งขันในด้านราคาได้ ซึ่งทำให้เกิดการผูกขาดและการขึ้นราคา ในอนาคตได้ ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะว่าควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงรถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2564 โดยไม่ควรกำหนดให้ผู้ขับขี่ต้องนำรถยนต์นั่งส่วนบุคคลมาจดทะเบียนเปลี่ยนประเภทเป็นรถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพราะการจดทะเบียนเปลี่ยนประเภทรถยนต์จะทำให้ผู้ขับขี่เสียค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายส่วนนี้เกินความจำเป็น นอกจากนี้การที่กฎกระทรวงรถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2564 ที่กำหนดให้ผู้ให้บริการระบบอิเล็กทรอนิกส์ต้องไม่จัดทำส่วนลดใด ๆ ที่ทำให้อัตราค่าโดยสารที่จัดเก็บต่ำกว่าอัตราค่าโดยสารขั้นต่ำที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดอัตราค่าจ้างบรรทุกคนโดยสารและค่าบริการอื่นสำหรับรถยนต์รับจ้าง ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นั้น หน่วยงานของรัฐไม่ควรไปกำหนดเกี่ยวกับการจัดทำส่วนลดใด ๆ เกี่ยวกับอัตราค่าโดยสาร เพราะถือว่าเป็นการควบคุมการแข่งขันด้านราคาที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ แก่ผู้บริโภคหรือผู้โดยสาร แต่หน่วยงานของรัฐควรกำหนดอัตราค่าโดยสารขั้นสูงมากกว่าเพื่อป้องกัน การเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค และควรควบคุมตัวสัญญาระหว่างผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชัน กับผู้ขับขี่ให้มีการกำหนดสัดส่วนค่าตอบแทนให้มีความเหมาะสมและไม่เกิดการเอารัดเอาเปรียบกันในอนาคตและเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะที่มีประสิทธิภาพต่อไป ส่วนในเรื่อง นิติสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชันกับผู้ขับขี่ว่าควรบังคับตามกฎหมายฉบับใดนั้น กรมการขนส่งทางบกซึ่งเป็นหน่วยงานที่กำกับดูแลเกี่ยวกับการขนส่งผู้โดยสารสาธารณะผ่านระบบแอปพลิเคชันก็ควรจะต้องไปหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อทำการกำหนดนิติสัมพันธ์ตามกฎหมายระหว่างผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชันกับผู้ขับขี่ให้ชัดเจนว่าสามารถบังคับได้ตามกฎหมายแรงงานหรือไม่ เพื่อให้ผู้ให้บริการระบบแอปพลิเคชันกับผู้ขับขี่มีสถานะเป็นนายจ้างและลูกจ้างกัน ตามกฎหมายแรงงาน เพื่อให้เกิดสิทธิหน้าที่และความคุ้มครองต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ต่อไป
Research report regarding legal measures for public transportationservices through applications was conducted as the qualitative research directing atthe study of legal measures and analysis of related problems of the state agenciesresponsible for supervising public transportation services through applications bystudying legal relations between the application system service providers andthe drivers. This was done to find out which laws applied to set up the guidelines fordeveloping appropriate and fair public transportation systems, including the guidelinesto enforce the laws aiming for legal effectiveness in the future. Data were analyzedtogether with field data collection through the in-depth interviews of the relatedparties who provided public transportation services. The acquired data were subjectedto overall interpretation and identified the key issues to propose guidelines for furtherproblem solving. The research findings suggested that the Ministerial RegulationRe: Ride-Hailing Service Vehicle via an Electronic System B.E. 2564 (2021) is currentlyin charge of supervising public transportation services through applications which allow the public to use personal vehicle as the hired vehicle legally through applicationsystem. The Ministerial Regulation Re: Ride-Hailing Service Vehicle via an ElectronicSystem B.E. 2564 (2021) required the application system service providers to submitregistration for certification in accordance with the set criteria of Department of LandTransport. Therefore, it is considered that the Department of Land Transport at presentacting as the state agency to supervise and enforce the law related to publictransportation services through application system. However, considering the legalrelations between the application system service providers and the drivers, one couldnot identify legal relations based on the nature of labor contract, hire or work contract,carriage of goods contract, brokerage contract, partnership contract or carriage ofpassenger contract because the characteristic of the public transportation servicesthrough application system has not met the criteria of any contract. Therefore, judgingshould base on the criteria of reciprocal contract in which the system service providerswould permit the registered drivers to make contract so that the passenger transportservices could engage the prepared application as the medium to connect withthe passengers as well as transport passengers to the destination. When the drivershad delivered the passengers at the set destination , the passengers must sharethe fare as agreed with the application service providers as well as repay for permittingthe drivers to use the application system delivering passengers. As seen, the legalrelations between the application service providers and the drivers could be enforcedas stated in the reciprocal contract because both parties must honor the debt asthe agreement to repay each other. Hence, if the agreement that the applicationservice providers made with the drivers taking advantages or making the drivers carriedheavier burden than normally expected, the contracting party can file a lawsuit inaccordance with the Unfair Contract Terms Act B.E. 2540 (1997). As for the directionfor improving the passenger transport services through application system appropriatefor the present era, as well as the effective future law enforcement that should notrequire the drivers who want to engage the public transportation system throughapplication system to register personal vehicle changing to car for hire throughapplication system. Because this is adding burden to the drivers, the Department ofTransport as the supervised state agency may allow the drivers to register passenger transport services through application system for convenience. As for the guarantee,the Department of Transport should not require the application system providersplacing collateral since the legal relations between both parties has not been done asthe employer and employee based on the contract. Then, any damages done,the electronic application system service provider has no legal obligation to remedythe damages that occurred by law as well as restricting the service the applicationsystem service providers on arranging any discount that may lower the fare thanthe ministerial declaration. This is done to prevent the major electronic system serviceproviders from giving the discount until the minor electronic system service providersare unable to compete in price which can lead to monopoly and price increasing inthe future. The researcher suggests amendment of the Ministerial Regulation Re: Ride-Hailing Service Vehicle via an Electronic System B.E. 2564 (2021) by not requiringthe drivers to register changing the personal vehicle to car for hire through electronicsystem because doing so would cause the drivers extra fees or unnecessary expenses.Furthermore, the Ministerial Regulation Re: Ride-Hailing Service Vehicle via anElectronic System B.E. 2564 (2021) restricted the electronic system service providersnot to arrange any discount that would lower the fare than the ministerial declaration,the wages for carrying passengers, and other service fees for hired car throughelectronic system, the state agency should not involve in preparing any discount farebecause it is considered as the control on price competition which may not benefitthe consumers or passengers. Nonetheless, the state agency should set higher fare toprevent taking advantages of consumers and control the contract betweenthe application system service providers and the drivers by determining appropriateproportion of remuneration to avoid both parties taking advantages each other as wellas leading to efficiency in further development of public transportation system. As forthe legal relations between the application system service providers and the driversrelated to choosing which law to enforce, the Department of Transport that directlysupervise carrying public passengers through application should consult the agenciesinvolved to clearly determine legal relations according to the law betweenthe application system service providers and the drivers whether or not such law can enforce as stated in the labor law and still keep the status as the employer andemployee so that the public rights, duties and protections in accordance withthe Labor Protection Act B.E. 2541 (1998) can be maintained further.
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3216
Appears in Collections:Law - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Legal-measure-on-public-car-transportation-service.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.