Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3234
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร-
dc.contributor.advisorJaturong Boonyarattanasoontorn-
dc.contributor.authorทิวาพร ฟูเฟื่อง-
dc.contributor.authorThiwaphorn Foofueng-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.date.accessioned2024-11-09T12:23:22Z-
dc.date.available2024-11-09T12:23:22Z-
dc.date.issued1999-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3234-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (สส.ม.) (การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2542en
dc.description.abstractปัจจัยที่มีอิทธพิลต่อภาวะสุขภาพจิตของพยาบาลวิชาชีพ : ศึกษาเฉพาะพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจิตเวชในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของพยาบาลวิชาชีพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านต่างๆ ที่มีออิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิต ในด้านส่วนตัว ครอบครัว เศรษฐกิจ การดูแลสุขภาพ ลักษณะการทำงาน สัมพันธภาพกับผู้ร่วมงาน โดยศึกษาเฉพาะพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจิตเวชในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรวม 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลศรีธัญญา โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา และโรงพยาบาลนิติจิตเวช จำนวน 238 คน รวบรวมข้อมูลและนำผลข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS/PC+ เพื่อศึกษาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ยประมาณ 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี สมรสแล้ว รายได้เดือนละ 13,000-20,000 บาท มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง ส่วนใหญ่ยังมีภาระหนี้สิน สุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีโรคประจำตัว ทำงานตรงกับสายวิชาชีพ มีประสบการณ์ในการทำงานนาน 21 ปีขึ้นไป และมีโอกาสที่จะเจริญก้าวหนาในตำแหน่งหน้าที่ในสายของวิชาชีพ การศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจติของพยาบาลพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพล คือ (1) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ความเพียงพอของรายได้ การมีภาะหนี้สิน การต้องทำงานพิเศษเพิ่มรายได้ (2) ปัจจัยด้านการทำงาน ได้แก่ ความยากลำบากในการทำงาน เนื่องจากลักษณะของงานทีหนักและเสี่ยงต่อภยันตราย ปัญหาในการทำงานเป็นทีม ทัศนคตต่อวิชาชีพ ความยากลำบากในการเดินทางมาทำงาน ช่วงเวลาการปฏิบัติงานในยามวิกาล และการปรับเปลี่ยนเวลาทำงานอยู่ตลอด โอกาสก้าวหน้า (3) ปัจจัยด้านสุขภาพ ได้แก่ ความแข็งแรงของสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ การดูแลสุขภาพของตนเอง จากผลการวิจัยนำสู่ข้อเสนอแนะดังนี้ (1) กระทรวงสาธารณาสุขเน้นด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอนามัย โดยให้เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย สนับสนุนและส่งเสริมในเรื่องนี้ ให้ทุกหน่วยงานดำเนินการและประสานความร่วมมือให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับได้เล็กเห็นความสำคัญ (2) ด้านการทำงาน ต้องปลูกฝังทัศนคติที่ดีในเรื่องนี้ตั้งแต่สถาบันการศึกษาพยาบาล ผู้บริหารทุกระดับชั้นต้องส่งเสริมด้านขวัญกำลังใข ให้โอกาสในการเจริญก้าวหน้า และ (3) ด้านเศรษฐกิจควรปรับปรุงสวัสดิการด้านต่างๆ ของเจ้าหน้าที่ให้เพิ่มขึ้นen
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectพยาบาล -- ไทยen
dc.subjectNurses -- Thailanden
dc.subjectสุขภาพจิตen
dc.subjectMental healthen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.subjectSelf-care, Healthen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของพยาบาลวิชาชีพ : ศึกษาเฉพาะพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจิตเวชในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลen
dc.title.alternativeFactors Effecting Mental Health of Professional Nurses : A Case Study of Professional Nurses in Psychiatric Hospitals in Bangkok and Suburbsen
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการจัดการโครงการสวัสดิการสังคมen
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Factors-Effecting-Mental-Health.pdf
  Restricted Access
13.48 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.