Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3241
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภุชงค์ เสนานุช-
dc.contributor.advisorPuchong Senanuch-
dc.contributor.authorธารา ด่านเจริญสุข-
dc.contributor.authorThara Dangaroensuk-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.date.accessioned2024-11-11T02:56:05Z-
dc.date.available2024-11-11T02:56:05Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3241-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (สส.ม.) (การบริหารสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2551en
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง “การปรับตัวของนักเรียนที่เรียนโรงเรียนสองภาษา : ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ G.7-G.9 โรงเรียนสารสาสน์ วิเทศร่มเกล้า เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของนักเรียนที่เรียนโรงเรียนสองภาษาเพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปรับตัวของนักเรียนที่เรียนโรงเรียนสองภาษา และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการปรับตัวของนักเรียนระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีความแตกต่างกันหรือไม่การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนโรงเรียนสารสาสน์วิเทศร่มเกล่า ระดับชั้น G.7 G.8 G.9 จำนวน 225 คนผลการศึกษา พบว่า นักเรียนเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุ 14 ปี มีพี่น้อง รายได้รวมของครอบครัวต่อเดือน 25,000 บาทขึ้นไป บิดาและมารดาประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว รายได้เฉลี่ยต่อวันของนักเรียนอยู่ที่ 51-100 บาท อาศัยบ้านของตนเอง การเดินทางมาโรงเรียนจะมาโดยรถยนต์ส่วนตัว ใช้เวลาเดินทางมาโรงเรียน น้อยกว่า 30 นาที และนักเรียนส่วนมากจะเรียนเสริมพิเศษเมื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการปรับตัวของนักเรียน พบว่า ความแตกต่างในเรื่องเพศ ระดับชั้นเรียน อาชีพของบิดาและมารดา รายได้ต่อวัน และการเรียนเสริมพิเศษของนักเรียน จะส่งผลต่อการปรับตัวของนักเรียนในด้านการเรียน ด้านสังคม และด้านอารมณ์ส่วนบุคคลข้อเสนอแนะจากการศึกษา สถาบันการศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนักเรียนและสังคมรอบข้างของการอยู่ร่วมกันในสังคม เพื่อให้เด็กนักเรียนนั้นส่งผลกระทบน้อยที่สุด สถาบันการศึกษาต้องมีแนวทางในการให้คำปรึกษาทุกด้านไม่ใช่เฉพาะด้านการเรียนเท่านั้น อาจจะเป็นในด้านเรื่องเพื่อน หรือเรื่องทั่วไปได้พฤติกรรมที่ควรพัฒนา คือ การปรับตัวเข้ากับกลุ่มเพื่อ เพราะมีอิทธิพลในการปรับตัวของนักเรียนๆ ควรมีครูร่วมดูแลให้คำปรึกษาได้โดยที่ต้องเข้าใจนักเรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแก้ปัญหาได้เพื่อให้นักเรียนมีการพัฒนาในการปรับตัวที่ดีในการอยู่ภายในสถาบันการศึกษาที่ดีส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป ควรจะทำการศึกษาตัวแปรอื่นๆ เช่น ระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนเนื่องจากนักเรียนต้องการเวลาที่เหมาะสมในการปรับตัวและควรทำการศึกษากับครูประจำชั้น เพราะจะได้ข้อมูลมากกว่าที่ได้จากนักเรียนเพียงด้านเดียวและการศึกษาจากนักเรียนโรงเรียนรัฐบาล ก็จะได้ข้อมูลมากขึ้นสามารถนำมาเปรียบเทียบความแตกต่างกันได้en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectการศึกษาทวิภาษาen
dc.subjectEducation, Bilingualen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.subjectHigh school studentsen
dc.subjectการปรับตัวทางสังคมen
dc.subjectSocial adjustmenten
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)en
dc.subjectAdjustment (Psychology)en
dc.titleการปรับตัวของนักเรียนที่เรียนโรงเรียนสองภาษา : ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ G.7-G.9 โรงเรียนสารสาสน์ วิเทศร่มเกล้า เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeThe Adaptation of Bilingual Students G.7-G.9 at Sarasas Witaed Romklao School, Bangkoken
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameสังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการบริหารสังคมen
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Adaptation-of-Bilingual-Students.pdf
  Restricted Access
8.6 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.