Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3301
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาริสสา ทรงพระ-
dc.contributor.advisorMarsisa Songpra-
dc.contributor.authorธีระพงศ์ สวัสดี-
dc.contributor.authorTeerapong Sawasdee-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-12-01T02:10:54Z-
dc.date.available2024-12-01T02:10:54Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3301-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2552en
dc.description.abstractการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานของบริษัท เอเชียน มารีน เซอร์วิสส์ จำกัด (มหาชน) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน บริษัท เอเชียน มารีน เซอร์วิสส์ จำกัด (มหาชน) และเพื่อศึกษาปัจจัยเกี่ยวกับการทำงานที่ต่างกันต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานของบริษัท เอเชียน มารีน เซอร์วิสส์ จำกัด (มหาชน) การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Research) ทำการรวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากแบบสอบถาม (Questionnaire) ใช้กลุ่มประชากร คือ พนักงานระดับปฏิบัติของบริษัท จำนวน 187 ตัวอย่าง การวิเคราะห์ผลการศึกษาใช้สถิติเชิงพรรณานา (Descriptive Statistic) เพื่ออธิบายผลการศึกษา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการทดสอบสมมติฐาน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยการทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ T-test และ F-test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 สามารถสรุปผลการศึกษา ได้ดังนี้1. ลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มประชากร พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 89.00 มีอายุ 18-25 ปี ร้อยละ 29.00 มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3-6 ปี ร้อยละ 36.00 มีสถานะทางครอบครัว คือ โสด ร้อยละ 49.00 และมีประสบการณ์การทำงาน 1-5 ปี ร้อยละ 43.002. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยในการทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีความรู้ค่อนไปทางสูง คือ มีความรู้มากกว่า 7 ข้อคำถามขึ้นไป ร้อยละ 89.843. ความคิดเห็นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานโดยรวม พบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่มีความเห็นด้วยในระดับปานกลาง นั้น คือ องค์กรมีมาตรการด้านความปลอดภัยในระดับปานกลางนั้นเอง โดยมีค่าเฉลี่ย 2.64 เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ทุกด้านกลุ่มประชากรส่วนใหญ่ความเห็นด้วยในระดับน้อย โดยสามารถเรียงลำดับด้านที่กลุ่มประชากรมีความเห็นด้วยจากมากที่สุดไปน้อยที่สุดได้ดังนี้ ด้านความพร้อมของเครื่องจักรอุปกรณ์และสภาพแวดล้อม เห็นด้วย ระดับปานกลาง รองลงมา ได้แก่ ด้านการให้ความรู้ฝึกอบรมเรื่องความปลอดภัย ในการทำงานเห็นด้วยระดับน้อยและด้านมาตรการการควบคุม เห็นด้วยระดับน้อย ตามมลำดับ4. การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่มีผลต่อการให้ความคิดเห็นต่อความปลอดภัยในการทำงานแตกต่างกัน มีเพียงระดับการศึกษาของพนักงาน และพบว่าปัจจัยความรู้ไม่มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับความปลอดภัยในองค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมen
dc.subjectIndustrial safetyen
dc.subjectอุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรมen
dc.subjectIndustrial accidentsen
dc.subjectอาชีวอนามัยen
dc.subjectIndustrial hygieneen
dc.subjectอุบัติเหตุจากอาชีพen
dc.subjectAccidents, occupationalen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานของบริษัทเอเชียน มารีนเซอร์วิสส์ จำกัด (มหาชน)en
dc.title.alternativeFactors Effecting the Accidents from Work in Asian Marine Services Public Co., Ltd.en
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการจัดการอุตสาหกรรมen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Factors-Effecting-the-Accidents-from-Work.pdf
  Restricted Access
9.29 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.