Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3336
Title: ความผิดฐานการลักทรัพย์ : ศึกษาเฉพาะกรณีการลักทรัพย์ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
Other Titles: Offence of Theft : The Case Study of Theft of Medical Products
Authors: นันนภาฤทธิ์ พูลลาพ
Nannaparit Pullarp
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Laws
Keywords: ความผิดต่อทรัพย์
Offenses against property
ลักทรัพย์ – กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
Larceny -- Law and legislation
กฎหมายอาญา
Criminal law
ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
Medical supplies
การขโมย – กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
Theft -- Law and legislation
Issue Date: 2024
Citation: วารสารคณะนิติศาสตร์ 15,1 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2567) : 117-134.
Abstract: ประมวลกฎหมายอาญาในความผิดฐานลักทรัพย์ได้มีการบัญญัติเหตุฉกรรจ์ไว้หลายกรณี อาทิ การกำหนดเป็นเหตุฉกรรจ์จากพฤติการณ์ประกอบการการทำหรือวัตถุที่กระทำต่อ ตามมาตรา 335 การลักวัตถุในทางศาสนา มาตรา 335 ทวิและเหตุการณ์อื่นๆ มาตรา 36 ทวิ แต่ในปัจจุบันมีมากมายหลายชนิดบางชนิดเป็นทรัพย์มูลค่าสูง และยังเป็นทรัพย์ที่สามารถใช้รักษาอาการเจ็บป่วย รักษาโรค หรือสภาวะของมนุษย์นั้น คือ “ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์” หากทรัพย์ดังกล่าวนี้มีการโจรกรรมเกิดขึ้นนอกจากจะส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยส่วนตัวและยังส่งผลกระทบต่อสังคมประเทศชาติในวงกว้าง บทความวิชาการนี้ทำการศึกษาเกี่ยวกับบทบัญญัติความผิดฐานลักทรัพย์ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ โดยจะทำการศึกษาเปรียบเทียบกับบทบัญญัติตามกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกาที่ได้มีบทบัญญัติโดยกำหนดความผิดฐานลักทรัพย์เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ไว้เป็นการเฉพาะ โดยมีโทษสูงกว่าการลักทรัพย์กรณีทั่วไป เพื่อนำแนวทางมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการกระทำความผิดในสังคมประเทศไทยต่อไป ดังนั้น ประมวลกฎหมายอาญาควรแก้ไขเพิ่มเติมให้มีบทบัญญัติที่ชัดเจนด้วยการกำหนดใหมีบทบัญญัติว่าด้วยการลักทรัพย์เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ไว้เป็นการเฉพาะ
The Criminal Code of Thailand addresses theft by outlining various aggravating circumstances, including those detailed in Section 335 (theft), Section 335 bis (theft of religious objects), and Section 336 bis (other crimes). In contemporary contexts, there are many types of property some of which it is a high value asset. It is also property that can be used to treat sickness, disease or human condition, that is “medical products”. If such property is stolen, it will noy Only affect personal safety but also affect society and the nation. This academic article investigates the legal framework theft of medical products under Thai law and conducts a comparative analysis with the relevant provisions in United States law, where theft of medical products is specifically defined and carries more severe penalties than general theft. The aim is to evaluate whether such guidelines could be adapted to enhance the Thai system. It is concluded that the Criminal Code of Thailand should be revised to incorporate specific provisions addressing theft of medical products.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/275135/177920
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3336
Appears in Collections:Law - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Offence-of-Theft-The-Case-Study-of-Theft-of-Medical-Products.pdf100.49 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.