Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3397
Title: ผลการใช้รูปแบบการสร้างเสริมพฤฒพลังของผู้สูงอายุในชุมชนตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานและการเรียนรู้บนความท้าทาย
Other Titles: The Effects of Active Ageing Promotion Model Based on the Concepts of Brain-Based Learning and Challenge-Based Learning among Community Dwelling Older Persons
Authors: วิญญทัญญู บุญทัน
อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล
Winthanyou Bunthan
Ittipaat Suwathanpornkul
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Srinakharinwirot University. Faculty of Education
Keywords: ผู้สูงอายุ -- ไทย -- เชียงราย
Older people -- Thailand -- Chiang Rai
พฤฒิพลัง
Active ageing
ผู้สูงอายุ -- การดำเนินชีวิต
Older people -- Conduct of life
คุณภาพชีวิต
Quality of life
การเรียนรู้
Learning
ป่าตาล (เชียงราย)
Pa Tan (Chiang Rai)
Issue Date: 2020
Citation: วารสาร มฉก. วิชาการ 24, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) : 221-234
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการสร้างเสริมพฤฒพลังตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานและการเรียนรู้บนความท้าทาย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุในตำบลป่าตาล อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย จำนวน 48 ราย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม จำนวนกลุ่มละ 24 คน เครื่องมื่อวิจัยการวิจัยได้แก่ รูปแบบการสร้างเสริมพฤฒพลังตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานและการเรียนรู้บนความท้าทาย ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมความพร้อม ขั้นตอนการสร้างความท้าทาย ขั้นตอนการสร้างความเข้าใจภายใต้เงื่อนไข ขื้นตอนการประมวลข้อมูลใหม่ และขื้นตอนการถ่ายทอดข้อมูล และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบทดสอบพฤฒพลังด้านความรู้ และ 2) แบบประเมินพฤฒพลังด้านความตระหนัก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ repeated measure MANOVA และ Hotelling’s T[superscript2] ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤฒพลังด้านความรู้และค่าเฉลี่ยคะแนนพฤฒพลังด้านความตระหนัก หลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤฒพลังด้านความรู้ และค่าเฉลี่ยคะแนนพฤฒพลังด้านความตระหนักสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
This research was quasi-experimental research aimed to study the effect of using the model to promote active ageing, based on the concept of brain-based and challenge-based learning. The sample group was selected from older people in Pa Tan subdistrict, Khun Tan district, Chiang Rai provinces; 48 persons were divided into 2 groups of 24, as the experimental group and the control group. The research tools included a model to promote active ageing, based on the concept of brain-based and challenge-based learning consisting of 5 stages including the preparation stage, the challenge stage, the understanding stage, the processing new information stage and the conveying information stage. The tools to collect the data were 1) the active ageing test of knowledge and 2) an evaluation of awareness. The data were analyzed by repeated measure MANOVA and Hotelling’s T[superscript2] The results showed that the experimental groups’ mean score of active ageing knowledge and mean score of active ageing awareness were higher after the experiment than before, with a statistical significance at a level of .05. After the experiment, the experimental group had higher mean scores of active ageing knowledge and active ageing awareness than the control group with a statistical significance of .05.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/222475/167568
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3397
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Effects-of-Active-Ageing-Promotion-Model.pdf91.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.