Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3414
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นพดล บุญริ้ว | - |
dc.contributor.author | แววมยุรา คำสุข | - |
dc.contributor.author | ทัศนีญา ผิวขม | - |
dc.contributor.author | Nopadol Boonriew | - |
dc.contributor.author | Wawmayura Chamsuk | - |
dc.contributor.author | Thatsaneeya Phiukhom | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration. Student of Bachelor of Business Administration; | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | en |
dc.date.accessioned | 2024-12-30T07:10:01Z | - |
dc.date.available | 2024-12-30T07:10:01Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3414 | - |
dc.description | การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. พระนคร ครั้งที่ 3 (Proceedings of the 3rd RMUTP Conference on Engineering and Technology-The 3Rd ENGCON-RMUTP 2018) 23 มีนาคม 2561 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร : หน้า 360-363. | en |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : eng.rmutp.ac.th/web2558/wp-content/uploads/2024/12/Proceedings-Engcon3th.pdf | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการทำงาน ลดความสูญเปล่าจากกระบวนการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ รุ่น B62SR12825G ด้วยการจัดสมดุลสายการผลิต (Line Balancing) โดยพยายามขจัดและลดงานที่ที่เป็นจุดคอขวด (Bottleneck) ซึ่งคือขั้นตอน FI-01 ที่ทาให้ขั้นตอนการทำงานที่ทาก่อนเกิดงานระหว่างกระบวนการ (Work in process) เป็นจำนวนมาก และส่งผลให้ขั้นตอนงานทาตามหลังเกิดการรอคอยชิ้นงาน (Waiting) เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงานวิจัยนี้ ประกอบด้วย การศึกษาการทำงาน (Work Study) การบันทึกวิธีการทำงาน การลดความสูญเปล่าด้วยหลักการระบบ ECRS และเทคนิคการจัดสมดุลสายการผลิต (Line Balancing) ผลการดำเนินงานวิจัยสามารถทำให้สายการผลิตเพิ่มสมดุลการผลิต (Line Balancing) แต่ไม่สามารถลดจุดคอขวด (Bottleneck) อีกจุดนึงได้ เป็น 66.93% จากเดิม 63.20% ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 206 ชิ้น/วัน เป็น 269ชิ้น/วัน Standard Time ลดลงจาก 816.66 Hrs/K เป็น 596.11 Hrs/K จานวนพนักงานที่ใช้ในการผลิตลดลงจาก 21 คน เหลือ 20 คน | en |
dc.description.abstract | This research aims to improve work process and reduce waste from the production process of electronic parts model B62SR12525G with line balancing by trying to eliminate and reduce the work at the bottleneck, This is FI-01 step. Which makes the next step is waiting for the work piece, and result in the procedure followed after waiting for the target. Tool used in operations research consists of the study of the work recording method, reduce loss of system ECRS techniques and balance the production line performance research can make production lines added balance production to 66.93% from the original 63.20% increased productivity from 206 pieces per day to 269 pieces per day Stand Time decreased from 816.66 Hrs/K to 596.11 Hrs/K, number of employees used in the production reduced from 21 people to 20 people. | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | en |
dc.subject | การควบคุมความสูญเปล่า | en |
dc.subject | Loss control | en |
dc.subject | อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ – ชิ้นส่วน | en |
dc.subject | Electronic apparatus and appliances – Parts | en |
dc.subject | สายการผลิต | en |
dc.subject | Assembly-line methods | en |
dc.title | การปรับปรุงสมดุลสายการผลิตเพื่อลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กรณีศึกษา Model B62SR12825G | en |
dc.title.alternative | Improving line balancing to reduce waste in the production of electronic components Case Study Model B62SR12825G | en |
dc.type | Proceeding Document | en |
Appears in Collections: | Business Administration - Proceeding Document |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Improving-Line-Balancing-to-Reduce-Waste .pdf | 107.43 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.