Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3518
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณราย แสงวิเชียร-
dc.contributor.advisorPannarai Saengwichian-
dc.contributor.authorนันทพร ไมตรี-
dc.contributor.authorNuntaporn Maitree-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2025-01-15T03:16:22Z-
dc.date.available2025-01-15T03:16:22Z-
dc.date.issued2001-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3518-
dc.descriptionภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2544en
dc.description.abstractจากสภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำเป็นผลให้ธุรกิจต่างต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของตนเอง เพื่อเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงยิ่งขึ้นในอนาคต ดังนั้นผู้ประกอบการจะต้องเตรียมความพร้อม เพื่อที่จะทำการแข่งขันกับโลกธุรกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อครองความเป็นผู้นำ ตลาดในอุตสาหกรรมของตนดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ตั้งวัตถุประสงค์ในการศึกษาไว้ดังนี้เพื่อลดต้นทุนการผลิตที่เกิดจากการมีของเสียที่เกิดขึ้นจากการผลิตในแต่ละกระบวนการผลิต ลดต้นทุนการผลิตที่เกิดจากการมีเวลาสูญเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตในแต่ละกระบวนการ และลดต้นทุนการผลิตในส่วนของสินค้าสำเร็จรูปที่คุณภาพของสินค้าไม่ได้มาตรฐาน การผลิตวิธีการศึกษาเป็นการศึกษาโดยมุ่งเน้นในส่วนที่มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิตเป็นสำคัญ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิที่ได้มีการบันทึกอยู่แล้วเป็นข้อมูลในการศึกษา และหาทางเลือกในการใช้แนวคิดหรือทฤษฎีที่เหมาะสมมาใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อลดต้นทุนการ ผลิตให้ต่ำลงจากผลการศึกษา กรณีศึกษา บริษัท SMC จำกัด พบว่า บริษัทฯ มีต้นทุนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้มีผลทำให้กำไรของบริษัทฯ ลดลง ซึ่งสาเหตุของต้นทุนที่เพิ่มขึ้นประกอบไป ด้วยต้นทุนการผลิต 3 ส่วนด้วยกัน คือ ต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนแรงงาน และต้นทุนค่าใช้จ่ายโรงงาน แต่ปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่มีผลทำให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น คือ ต้นทุนค่าแรงงาน ซึ่งสาเหตุสำคัญมาจากการทำงานของเครื่องจักร คน และระบบการทำงาน นอกจากนี้ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นยังมีสาเหตุมาจากความบกพร่องของการตรวจสอบคุณภาพของสินค้าสำเร็จรูป ซึ่งเกิดจากความผิดพลาดของ คนและมาตรฐานการทำงาน ซึ่งสาเหตุทั้งหมดนี้เป็นผลทำให้ต้นทุนการผลิตของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ ได้เลือกแนวคิดหรือกิจกรรมเกี่ยวกับคุณภาพและประสิทธิภาพในการทำงาน คือกิจกรรม TPM, Quality Maintenance, QA Matrix มาใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อลดต้นทุนการผลิตของบริษัทฯ เพื่อให้ระบบการทำงานของบริษัทฯ มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุดผลจากการศึกษาครั้งนี้มีประเด็นที่จะนำมาใช้พิจารณาในการบริหารต้นทุนการผลิต ของบริษัท SMC จำกัด และในอุตสาหกรรมในกลุ่มบรรจุภัณฑ์อื่น ๆ ทั้งทางด้านการควบคุม คุณภาพการผลิตและกิจกรรมการลดต้นทุนต่าง ๆ ซึ่งผู้บริหารระดับสูงและผู้นำทุกระดับควรนำมาพิจารณาประกอบในการบริหารงาน เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กรและพนักงานทุกคนในองค์กรen
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen
dc.subjectProcess controlen
dc.subjectต้นทุนทางอุตสาหกรรมen
dc.subjectCosts, Industrialen
dc.subjectการบำรุงรักษาเชิงทวีผลโดยรวมen
dc.subjectTotal productive maintenanceen
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen
dc.subjectLoss controlen
dc.subjectภาชนะบรรจุเครื่องดื่ม -- การผลิตen
dc.subjectBeverage containers -- Manufactureen
dc.subjectบริษัท เอสเอ็มซี จำกัดen
dc.subjectSMC Ltd.en
dc.titleการลดต้นทุนการผลิตเพื่อเพิ่มผลกำไร กรณีศึกษา : บริษัท SMC จำกัดen
dc.title.alternativeReducing the Production Cost to Increase Profit : A Case Study of SMC., Ltd.en
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Reducing-The-Production-Cost-To-Increase-Profit.pdf
  Restricted Access
24.94 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.