Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3527
Title: | การศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียปนเปื้อนสีสังเคราะห์จากโรงงานฟอกย้อม โดยใช้ระบบเยื่อกรองชีวภาพร่วมกับถ่านกัมมันต์ |
Other Titles: | Study on Treatment Efficiency of Textile Wastewater Containing Synthetic Dye Using Membrane Bioreactor Couple with Activated Carbon |
Authors: | สุภาภรณ์ ทิวาวรรณ์ เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์ Supaporn Tiwawan Thirdpong Srisukphun Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Master of Public and Environmental Health. Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
Keywords: | น้ำเสีย – การบำบัด – การกำจัดสี Sewage -- Purification -- Color removal น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพ Sewage -- Purification -- Biological treatment คาร์บอนกัมมันต์ Carbon, Activated อุตสาหกรรมฟอกย้อม Textile industry เครื่องปฏิกรณ์แบบเยื่อแผ่น Membrane reactors ระบบเยื่อกรองชีวภาพ Membrane bioreactors |
Issue Date: | 2023 |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยใช้นํ้าเสียสังเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายนํ้าเสียจากโรงงานฟอกย้อม และใช้ชุดทดลองระดับห้องปฏิบัติการ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างระบบ MBR และ MBR-PAC รวมถึงเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างการเติม PAC แบบเติมครั้งเดียวและแบบต่อเนื่อง โดยทการทดลอง 4 ชุดการทดลอง ได้แก่ 1)ไม่เติม PAC, 2) เติม PAC แบบเติมครั้งเดียวความเข้มข้น 1,000 mg/L, 3) เติม PAC แบบเติมครั้งเดียว ความเข้มข้น 2,000 mg/L และ 4) ทการเติม PAC แบบต่อเนื่องลงใน ถังปฏิกรณ์ที่ 3 โดยควบคุมอายุ PAC เท่ากับ 50 วัน สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ การเติม PAC ช่วยทให้ประสิทธิภาพการบบัด COD ซึ่งพบว่ามีประสิทธิภาพเฉลี่ยเท่ากับ 87.42 (±9.14), 91.23 (±3.41) และ 96.51 (±1.59) สหรับระบบ MBR และ MBR-PAC ที่มีการเติม PAC 1,000 และ 2,000 mg/L ตามลดับ สหรับการบบัดสีในการเดินระบบระยะยาวพบว่า การเติม PAC 2,000 mg/L มีประสิทธิภาพในการบบัดสี 74.99 (±6.04) % ซึ่งได้ดีกว่ากรณีเติม PAC 1,000 mg/L และ ระบบ MBR ที่มีประสิทธิภาพในการบบัดสี 52.11 (±6.94) และ 47.61 (±8.40) % ตามลดับ ส่วนการเติมถ่านแบบ ต่อเนื่องโดยควบคุมอายุของ PAC เท่ากับ 50 วัน ไม่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบบัดเมื่อเปรียบเทียบ กับการเติมถ่านแบบครั้งเดียว This experimental research is focusing on 1) the comparison of treatment efficiency between MBR and MBR-PAC and 2) the comparison of treatment efficiency between batch dose and continuous dose. The lab-scale experimental unit and synthetic textile wastewater were applied. The experimental conditions consist of 1) MBR without PAC added, 2) MBR-PAC where PAC of 1,000 mg/L was added, 3) MBR-PAC where PAC of 2,000 mg/L was added and 4) PAC was continuously dosed into the 3th reactor with PAC age of 50 days. It was found that, the addition of PAC improved COD removal efficiency. In case of MBR, MBR-PAC (1,000 mg/L) and MBR-PAC (2,000 mg/L), the treatment efficiencies were 87.42 (±9.14), 91.23 (±3.41) and 96.51 (±1.59), respectively. Moreover, in long-term, MBR-PAC (2,000 mg/L) performed higher color removal efficiency than MBR-PAC(1,000 mg/L) and MBR. The color removal efficiencies were 74.99 (±6.04), 52.11 (±6.94) and 47.61 (±8.40) %. In case of continuous dose with PAC age of 50 days, the treatment efficiency was similar to the case of MBR-PAC(2,000 mg/L). |
Description: | การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 6 “การวิจัยและนวัตกรรมในยุคดิจิทัลสู่ความยั่งยืน”วันที่ 6 กันยายน 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา หน้า : 558-568. สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/5-01/article/view/321/283 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3527 |
Appears in Collections: | Public and Environmental Health - Proceeding Document |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Study-on-Treatment-Efficiency-of-Textile-Wastewater-Containing-Synthetic-Dye.pdf | 97.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.