Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชัย สายสดุดี-
dc.contributor.advisorApichai Saisadudee-
dc.contributor.authorพิเชฐ ชีวนันทชัย-
dc.contributor.authorPhichej Cheevanantachai-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2025-05-19T09:13:08Z-
dc.date.available2025-05-19T09:13:08Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3865-
dc.descriptionภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2549en
dc.description.abstractอุตสาหกรรมเครื่องหนังและฟอกหนังเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักของประเทศไทย และเคยเป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรมส่งออกสูงสุดของประเทศ มูลค่าส่งออกสูงถึงกว่า 70,000 ล้าน บาทต่อปี ก่อให้เกิดการจ้างงานประมาณ 500,000 คน กระจายอยู่ตามโรงงานและสถานประกอบการรวม 4,900 แห่ง เพื่อทำการผลิตและจำหน่ายหนังดิบ หนังฟอก หนังอัด กระเป๋า เข็มขัด รองเท้าหนังแท้ เฟอร์นิเจอร์แม้ว่าอุตสาหกรรมเครื่องหนังและฟอกหนังของไทยยังมีศักยภาพอยู่มาก แต่สินค้าของไทยเริ่มสูญเสียความสามารถในการแข่งขันในตลาดทุกระดับ กล่าวคือ ในตลาดระดับบนไทยจะเสียเปรียบอิตาลีในเรื่องการออกแบบที่หลากหลายตามแฟชั่น การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ส่วนในตลาดระดับกลางลงมา ไทยเสียเปรียบจีนทางด้านต้นทุนการผลิต โดยรวม การขาดแคลนหนังดิบทั้งปริมาณและคุณภาพในประเทศ ทำให้ต้องนำเข้าจากต่างประเทศส่งผลให้ต้นทุนของสินค้าสูงกว่าของประเทศคู่แข่ง เพราะหนังเป็นวัตถุดิบหลักมากกว่าร้อยละ 60 ของต้นทุนการผลิตรวมในการจัดทำแผนการศึกษาจะมุ่งเน้นไปที่อุตสาหกรรมฟอกหนัง ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมกลางน้ำ เพื่อศึกษาหาวิธีการปฏิบัติจริงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับบริษัทในกลุ่มฟอกหนัง ในจังหวัดสมุทรปราการ ประกอบด้วยการศึกษาโครงสร้างและการเชื่อมโยงของอุตสาหกรรม สถานภาพของหน่วยผลิต การตลาดและการค้า ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาของอุตสาหกรรม เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องหนังไทยที่ยังมีศักยภาพ ให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น เพื่อให้แข่งขันได้ในตลาดโลก ส่วนอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังซึ่งเป็นอุตสาหกรรมปลายน้ำนั้น เมื่ออุตสาหกรรมต้นน้ำมีการปรับปรุงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันแล้วอุตสาหกรรมปลายน้ำก็จะต้องมีเข้ามาช่วยต่อยอดทางธุรกิจในลักษณะของการจัดทำระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมเครื่องหนัง (จากข้อมูลการศึกษาโครงการจัดทำระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมเครื่องหนัง ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ และเครื่องนุ่งห่ม และอัญมณีและเครื่องประดับ ของสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน และจากที่กล่าวมาทั้งหมดก็เป็นส่วนหนึ่งในการที่จะทำให้ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมได้ที่กำหนดวิสัยทัศน์ไว้สำหรับอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังไทย คือ การเป็นผู้นำของเอเซียในอีก 10 ปีข้างหน้า หรือ “Asian Footwear & Leather Goods Center” หรือ “Thailand’s Leather Good: Italy of the East” ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ต่อเนื่องจากแนวนโยบายการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางแฟชั่นของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ได้ในอีก 3 ปีข้างหน้า (จากข้อมูลปี 2545) ซึ่งกำหนดขึ้นในรัฐบาลชุดนี้ สำเร็จบรรลุลุล่วงได้en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectอุตสาหกรรมฟอกหนัง -- ไทย -- สมุทรปราการen
dc.subjectTanning industry -- Thailand -- Samut Prakanen
dc.subjectการแข่งขันทางการค้าen
dc.subjectCompetitionen
dc.subjectการพัฒนาอุตสาหกรรมen
dc.subjectIndustrializationen
dc.subjectการฟอกหนังen
dc.subjectTanningen
dc.subjectโรงงานฟอกหนังen
dc.titleวิธีการปฏิบัติเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันให้กับบริษัทในกลุ่มฟอกหนัง ในจังหวัดสมุทปราการen
dc.title.alternativePragmatic Approaches for Competitive Improvement for Tanning Industry in Samutprakan Provinceen
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pragmatic-Approaches-for-Competitive-Improvement-for-Tanning-Industry.pdf
  Restricted Access
10.44 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.