Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3879
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติระ ระบอบ-
dc.contributor.advisorChutira Rabob-
dc.contributor.authorภัทราภรณ์ หอมหวล-
dc.contributor.authorPhattharaphon Hoamhual-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2025-05-19T12:44:09Z-
dc.date.available2025-05-19T12:44:09Z-
dc.date.issued2014-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3879-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (กจ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2557en
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิติแรงงานไร้ฝีมือในอุตสาหกรรมการผลิต จังหวัดสมุทรปราการ มีจุดประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการณ์และปัญหาคุณภาพชีวิตแรงงานไร้ฝีมือของจังหวัดสมุทรปราการ 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตแรงงานไร้ฝีมือ และ 3) เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานไร้ฝีมือ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากแรงงานไร้ฝีมือจำนวน 176 คน ของบริษัท แอ็พพลาย ดีบี อินดัสเตรียล จำกัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อหาค่าความถี (Frequency) อัตราส่วนร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Means) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Correlation) และการทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (ANOVA) และความแตกต่างรายคู่เชฟเฟ่ (Scheffe) ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของแรงงานไร้ฝีมือทั้ง 8 ด้านอยู่ในเกณฑ์ดี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความภาคภูมิใจในองค์กร (x̄ = 3.81, S.D> = 0.71) ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ การสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่ปลอดภัย (x̄ = 3.45, S.D. = 0.94) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลจำนวน 8 ปัจจัย มีความสัมพันธ์ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ โดยความสัมพันธ์อยู่ในระดับต่ำทุกปัจจัย ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลจำนวน 8 ปัจจัย มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ยกเว้นปัจจัยด้านภูมิลำเนาและปัจจัยด้านหน้าที่ความรับผิดชอบ และจากการทดสอบความแตกต่างรายคู่เชฟเฟ่ ไม่พบความแตกต่างรายคู่ของปัจจัยด้านภูมิลำเนา ในขณะที่ปัจจัยด้านหน้าที่ความรับผิดชอบ พบว่าคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกันจำนวน 1 คู่ คือ ฝ่ายผลิตกาวน้ำและฝ่ายผลิต D.I.Y. ดังนั้น ผลจากการศึกษาทำให้เกิดแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของแรงงานไร้ฝีมือ ได้แก่ ด้านสวัสดิการและค่าตอบแทนด้านสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงาน ด้านการส่งเสริมให้พนักงานมีความก้าวหน้าในงาน และด้านการมีระบบที่ดีมีความยุติธรรมen
dc.description.abstractThe independent study entitled "Factors related to quality of unskilled labor worklife in industry in Samutprakarn province” was carried out with purposes to study the quality of work life’s problem of the unskilled labor industry in Samutprakarn province, analyzed factors related to quality of work life (QWL) and determine the developing guidelines. The sample consisted of 176 unskilled labors of 3 branches, Applied DB Industrial Co., Ltd. The data was collected from questionnaires and analyzed by using Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, Pearson Correlation, ANOVA statistics and Scheffe. The result of the study showed that the sample populations were the good level. The Organizational Pride was the highest mean: 3.81 and S.D. 0.71, the Safe and Healthy Environment was lowest mean: 3.45 and S.D. 0.94. The results of factors related to QWL that there were same directions and opposite directions. The related to QWL was low level. For hypothesis, ANOVA analysis indicated that QWL and low level. For hypothesis, ANOVA analysis indicated that QWL and personal factors weren’t different. Except, birthplace and duty factor were different. Scheffe analysis indicated that birthplace factors wasn’t different with QWL but duty factor was different at 0.05 significance level, Glue division and D.I.Y division. There were the following QWL’s development guidelines: adequate and fair compensation, safe and healthy environment, growth an career development and constitutionalism.en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectแรงงานไร้ฝีมือen
dc.subjectแรงงานไม่มีฝีมือ -- ไทย -- สมุทรปราการen
dc.subjectUnskilled labor -- Thailand -- Samut Prakanen
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานen
dc.subjectQuality of work lifeen
dc.subjectอุตสาหกรรมการผลิต – ไทย – สมุทรปราการen
dc.subjectManufacturing industries – Thailand – Samut Prakanen
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของแรงงานไร้ฝีมือในอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัดสมุทรปราการen
dc.title.alternativeFactors Related to Quality of Unskilled Labor Worklife in Industry in Samutprakarn Provinceen
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการจัดการอุตสาหกรรมen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Factors-Related-to-Quality-of-Unskilled-Labor-Worklife-in-Industry-in-Samutprajarn-Province.pdf
  Restricted Access
15.59 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.