Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4250
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุศยา ลีฬหาวงศ์-
dc.contributor.advisorKusaya Leerahawong-
dc.contributor.authorเยาวเรศ ทองเจริญสกุล-
dc.contributor.authorNitinan Kaowrungruang-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2025-07-04T02:41:38Z-
dc.date.available2025-07-04T02:41:38Z-
dc.date.issued2003-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4250-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2546.en
dc.description.abstractเนื่องด้วยประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมหลายๆ ประเภทซึ่งกำลังเจริญรุดหน้าในขณะที่การแข่งขันด้านอุตสาหกรรมในตลาดโลกมีเพิ่มขึ้นความสำคัญในเรื่องคุณภาพสินค้าและบริการจึงได้รับความสนใจมากขึ้นบริษัทต่างๆ จึงมีการนำระบบการประกันคุณภาพ (Quality Assurance)เข้ามาใช้ในการบริหารงานด้านคุณภาพสินค้าและบริการ บริษัทต่างๆจึงมีการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2000มาใช้เพื่อเป็นการประกันคุณภาพสินค้าและบริการของคนซึ่งในการนำระบบบริหารคุณภาพดังกล่าวมาใช้จะมีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้นมากมายดังนั้น จึงทำให้ข้าพเจ้าสนใจในการศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการนำระบบบริหารคุณภาพบริหารISO 9001 : 2000 มาใช้ โดยใช้บริษัท ไทย เคเค อุตสาหกรรม จำกัดเป็นกรณีศึกษาในการทำภาคนิพนธ์ครั้งนี้ภาคนิพนธ์ฉบับนี้แบ่งออกเป็น 5 บท โดยบทที่ 1 จะกล่าวถึงความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ในการศึกษาขอบเขตของการศึกษาวิจัยและแหล่งที่มาของข้อมูลแนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษา คำนิยามศัพท์และประโยชน์ที่คารดว่าจะได้รับ บทที่ 2 จะกล่าวถึง แนวคิดและทฤษฎีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กรอบแนวคิดในการศึกษาและประเด็นที่ทำการศึกษาบทที่ 3 จะกล่าวถึง กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล การทดสอบความแม่นตรง (Validity)และความเชื่อถือได้ (Reliability) ของเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูลระยะเวลา ในการศึกษาและข้อจำกัดในการศึกษา บทที่ 4กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของบริษัทปัญหาและอุปสรรคในการนำระบบบริหารคุณภาพมาใช้และบทที่ 5 กล่าวถึงการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการนำระบบบริหารคุณภาพมาใช้และข้อเสนอแนะจากผลการศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2000มาใช้ โดยใช้ บริษัท ไทย เคเค อุตสาหกรรม จำกัด เป็นกรณีศึกษาพบว่าปัญหาและอุปกสรรคในการนำระบบบริหารคุณภาพเข้ามาใช้สามารถสรุปได้ดังนี้ปัญหาในการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2000 มาใช้ในบริษัทฯ มีดังนี้1) พนักงานขาดความรู้เกี่ยวกับระบบบริหารงานคุณภาพ 2) การทำความเข้าใจกับSupplier 3) การสื่อสารกับลูกค้า 4) ปัญหาทางด้านการฝึกอบรมและอุปสรรคในการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2000 มาใช้ในบริษัทณมีดังนี้ 1) วุฒิการศึกษาของบุคลากรในบริษัทฯ 2)บุคลากรยึดติดกับสิ่งเก่า ๆซึ่งปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้จะมีผลทำให้การนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 :2000 มาใช้ในบริษัทฯ เป็นไปได้อย่างช้า ๆซึ่งจะมีผลกระทบต่อการดำเนินการปรับปรุงระบบต่าง ๆเพื่อพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันทางด้านสินค้าและบริการของบริษัทฯ ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา และอุปสรรค ดังกล่าวอย่างเร่งด่วน เพื่อเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขันให้กับบริษัทฯทั้งภายในประเทศและต่างประเทศได้ซึ่งท่านสามารถศึกษาในรายละเอียดได้จากเนื้อหาในภาคนิพนธ์ฉบับนี้en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectไอเอสโอ 9001en
dc.subjectISO 9001 Standarden
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวมen
dc.subjectTotal quality managementen
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen
dc.subjectQuality controlen
dc.subjectผลิตภาพen
dc.subjectProductivityen
dc.subjectบริษัท ไทย เคเค อุตสาหกรรม จำกัดen
dc.subjectThai KK Industry Company Limiteden
dc.titleการศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2000 มาใช้ :กรณีศึกษา บริษัท ไทย เคเค อุตสาหกรรม จำกัดen
dc.title.alternativeProblems and Threatrs of Implementing the Quality Management System (ISO 9001 Version 2000) : A Case Study of Thai KK Industry Company Limiteden
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Problems-and-Threats-of-Implementing-the-Quality-Management-System.pdf
  Restricted Access
10.1 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.