Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4251
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลั่นทม จอนจวบทรง | - |
dc.contributor.advisor | Lanthom Jonjuabtong | - |
dc.contributor.author | เยาวรัตน์ แย้มสุดา | - |
dc.contributor.author | Yaowarat Yaemsuda | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | - |
dc.date.accessioned | 2025-07-04T03:14:18Z | - |
dc.date.available | 2025-07-04T03:14:18Z | - |
dc.date.issued | 2009 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4251 | - |
dc.description | การศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2552 | en |
dc.description.abstract | การศึกษารูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบสารสนเทศภายในองค์กร : กรณีศึกษาขั้นตอนร้องขอระบบสารสนเทศภายในองค์กร และการฝึกอบรมเพื่อเรียนรู้การใช้งานระบบสารสนเทศของบริษัท เดลต้าอิเล็กทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด มหาชน มีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของกระบวนในการร้องขอระบบสารสนเทศ และการฝึกอบรมเพื่อเรียนรู้การใช้งานระบบสารสนเทศภายในองค์กร (2) เพื่อศึกษาแนวทางในการร้องขอระบบสารสนเทศ และการฝึกอบรมเพื่อเรียนรู้การใช้งานระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับองค์กร โดยแบ่งการศึกษาวิจัยเป็น 2 ส่วน คือ งานศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการสุ่มประชากรตัวอย่างพนักงานระดับบริหาร ซึ่งเป็นผู้จัดการ ซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ทำงาน เพื่อเก็บข้อมูลความคิดเห็นด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก และงานวิจัยศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยทำการสุ่มประชาการ 100% กับพนักงานระดับรายเดือน ด้วยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยคำถามที่ใช้ในงานศึกษาวิจัยทั้ง 2 ส่วนนี้ ผ่านการตรวจสอบเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และทดสอบค่าความเชื่อมั่น โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค (Cronbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.83 และ ผลจากการศึกษาวิจัยมาทำการวิเคราะห์ข้อมูลรวมกัน เพื่อเปรียบเทียบและหาข้อสรุปด้วยการอภิปรายผลร่วมกับทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า กระบวนการในการร้องขอระบบสารสนเทศ และการฝึกอบรม เพื่อเรียนรู้การใช้งานระบบสารสนเทศภายในองค์กร มีความจำเป็นต้องใช้หน้าจอแสดงที่เป็นภาษาอังกฤษ เพราะในแห่งองค์กรมีชาวต่างชาติหมุนเวียนเข้ามาปฏิบัติงาน พนักงานรายเดือน จำนวนร้อยละ 75 ที่เห็นว่า เป็นเรื่องซับซ้อนและทำความเข้าใจได้ยาก ต้องมีการพัฒนาทางด้านภาษาเพื่อสื่อสารมากขึ้น และความสำเร็จของระบบสารสนเทศในองค์กรเกิดจากการฝึกอบรมในห้องเรียนที่มีการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ทำให้สามารถสื่อสารและสร้างความเข้าใจได้เป็นอย่างดี อนึ่ง ทักษะทางด้านความรู้ทางคอมพิวเตอร์ และประสบการณ์ในการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กร ถือเป็นส่วนหนึ่งที่จะนำความสำเร็จและสมบูรณ์ของระบบสารสนเทศภายในองค์กรได้ | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | บริษัท เดลต้าอิเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด มหาชน | en |
dc.subject | Delta Electronics (Thailand) Public Company Limited | en |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | en |
dc.subject | Management information systems | en |
dc.subject | การจัดการฐานข้อมูล | en |
dc.subject | Database management | en |
dc.subject | การฝึกอบรม | en |
dc.subject | Training | en |
dc.subject | สารสนเทศ | en |
dc.subject | Information | en |
dc.subject | การออกแบบระบบ | en |
dc.subject | System design | en |
dc.title | รูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบสารสนเทศภายในองค์กร : กรณีศึกษาขั้นตอนร้องขอระบบสารสนเทศภายในองค์กรและการฝึกอบรมเพื่อการเรียนรู้การใช้งานระบบสารสนเทศของบริษัทเดลต้าอิเล็กทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด มหาชน | en |
dc.title.alternative | Appropriate Methods of In-House Information System Development : A Case Study of Internal Requesting Process and the Training Sessions for the Information System of Delta Electronics (Thailand) Public Company Limited | en |
dc.type | Independent Studies | en |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ | en |
Appears in Collections: | Business Administration - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Appropriate-Methods-of-in-House-Information-System-Development.pdf Restricted Access | 20.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.