Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4333
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสนาะ ติเยาว์ | - |
dc.contributor.advisor | Sanoh Tiyao | - |
dc.contributor.author | รุ่งโรจน์ ตรีทิพย์รส | - |
dc.contributor.author | Rungroj Tritipros | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | - |
dc.date.accessioned | 2025-07-20T07:26:32Z | - |
dc.date.available | 2025-07-20T07:26:32Z | - |
dc.date.issued | 1999 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4333 | - |
dc.description | ภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2542 | en |
dc.description.abstract | ปัญหาในเรื่องของการสูญเสียลูกค้าในการให้บริการของธุรกิจในปัจจุบัน นับเป็นปัญหาที่สำคัญต่อบริษัทมาก ซึ่งปัญหาดังกล่าว อาจมีสาเหตุมาจากหลายประการ ที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การให้บริการที่ไม่ได้มาตรฐานของบริษัทนั่นเอง ดังนั้น การศึกษาถึงความพึงพอใจของลูกค้าในการใช้บริการ จึงเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจเป็นอย่รงมาก เพื่อที่จะได้นำสิ่งเหล่านี้มาใช้เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาให้องค์กรหรือให้กับองค์กรอีกด้วย ในการทำโครงการวิจัยในครั้งนี้ บริษัทที่ผู้วิจัยได้คัดเลือกมาทำการวิจัย คือ บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ศึกษาเฉพาะพนักงานระดับบังคับบัญชาของบริษัทลูกค้าเท่านั้น โดยผู้วิจัยได้กำหนดสมมติฐานการวิจัยในครั้งนี้ว่า ประเภทของลูกค้าที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจที่แตกต่างกันในการใช้บริการของศูนย์รับฝาก ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อใช้ในการศึกษาทั้งสิ้น จำนวน 50 บริษัท โดยใช้วิธีกำหนดกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มลูกค้าประเภทบริษัท BROKER กลุ่มลูกค้าประเภทบริษัท SUB-BROKER และกลุ่มลูกค้าประเภทบริษัท CUSTODIAN การวิเคราะห์ก็ใช้ค่าสถิติที่เหมาะสมกับข้อมูล คือ ใช้ค่าร้อยละในการพรรณาข้อมูล ส่วนในการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผู้วิจัยได้มีการใช้ตัวสถิติต่างๆ เช่น ค่า ANOVA (ONE-WAY ANALYSIS OF VARIANCE) และกำหนดนัยสำคัญในการทดสอบที่ 0.05 สำหรับวิธีการประมวลผลเพื่อวิเคราะห์นั้น ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นหลัก โดยการใช้โปรแกรม SPSS FOR WINDOW และสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ คือ ประเภทของลูกค้าที่แตกต่างกัน ซึ่งได้แก่ บริษัท BROKER บริษัท SUB-BROKER และ บริษัท CUSTODIAN มีระดับความพึงพอใจที่ไม่แตกต่างกันในการใช้บริการของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ซึ่งปัจจัยที่ทำให้ลูกค้ามีระดับความพึงพอใจที่ไม่แตกต่างกัน ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อความพึงพอใจ ได้แก่ ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ในแต่ละวันมีปริมาณไม่แน่นอน ความขัดข้องของระบบสื่อสารที่ติดต่อกับระบบศูนย์รับฝาก และภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจัยภายในที่มีผลกระทบต่อความพึงพอใจ ได้แก่ วิธีปฏิบัติที่ศูนย์รับฝากำหนด มีผลบังคับใช้เร็วเกินไป สมาชิกปรับระบบไม่ทัน การได้รับข่าวสารในองค์กรไม่ทั่วถึง การตัดสินใจในการแก้ปัญหาให้กับสมาชิกล่าช้า ความรอบรู้ในงานของพนักงานยังไม่ชัดเจน เนื่องจากมีการหมุนเวียนเปลี่ยนหน้าที่ ผลของการให้บริการของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ในการให้บริการทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ การบริการด้านการรับฝากหลักทรัพย์ การบริการด้านการถอนหลักทรัพย์ และการบริการด้านการโอนหลักทรัพย์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ที่ดีทั้งหมด | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | ความพอใจของผู้ใช้บริการ | en |
dc.subject | User satisfaction | en |
dc.subject | ความพอใจของผู้บริโภค | en |
dc.subject | Consumer satisfaction | en |
dc.subject | ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ | en |
dc.subject | Securities depository centers | en |
dc.title | ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการบริการของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานระดับบังคับบัญชา | en |
dc.title.alternative | Customer Satisfaction with Service Provided by Service of Securities Depository Center : A Case Study of Broker Sub-Broker and Custodian | en |
dc.type | Independent Studies | en |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ | en |
Appears in Collections: | Business Administration - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Customer-Satisfaction-with-Service-Provided-by-Service-of-Securities-Depository-Center.pdf Restricted Access | 10.91 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.