Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/434
Title: ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบ : กรณีศึกษาเขตประเวศ เขตลาดกระบัง และเขตวังทองหลาง
Other Titles: Factors Related to Quality of Life among the Thai Informal Workers : A Case Study in Pravet Lat Krabang and Wang Thonglang Districts
Authors: นิรัญกาจน์ จันทรา
Niranyakarn Chantra
ชนิภา แช่มเชื้อ
Chanipa Chamchua
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health
Keywords: คุณภาพชีวิต
Quality of life
แรงงานนอกระบบ -- ไทย -- กรุงเทพฯ (ประเวศ)
แรงงานนอกระบบ -- ไทย -- กรุงเทพฯ (วังทองหลาง)
แรงงานนอกระบบ -- ไทย -- กรุงเทพฯ (ลาดกระบัง)
Informal sector ‪(Economics)‬ -- Employees -- Thailand
Issue Date: 2017
Publisher: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบ: กรณีศึกษาเขตประเวศ เขตลาดกระบัง และเขตวังทองหลาง จำนวน 150 คน ผลการศึกษาพบว่าแรงงานนอกระบบกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง โดยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบกลุ่มตัวอย่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่รายได้ (p-value = 0.022) ปัจจัยด้านสุขภาพ (p-value = 0.004) ปัจจัยด้านมาตรฐานการครองชีพ (p-value <0.001) ปัจจัยด้านสัมพันธภาพทางสังคม (p-value = 0.002) และปัจจัยด้านการทำงาน (p-value <0.001) นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการทำนายระดับคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบ ได้แก่ อาชีพ (p-value <0.001) ภาระที่ต้องรับผิดชอบ (p-value = 0.771) การเลือกใช้บริการทางด้านสุขภาพ (p-value = 0.009) ปัจจัยด้านสุขภาพ (p-value = 0.872) ปัจจัยด้านมาตรฐานการครองชีพ (p-value = 0.013) ปัจจัยด้านสัมพันธภาพทางสังคม (p-value = 0.270) และปัจจัยด้านการทำงาน (p-value = 0.008) โดยตัวแปรทั้ง 7 นี้มีความเหมาะสมและสามารถทำนายคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบได้ถูกต้องร้อยละ 43.9
The aim of this research was to determine the factors related to the Quality of life among the Thai Informal workers: A case study in Prawet, Lat Krabangand Wang Thonglang Districts. Data were collected by questionnaire among 150 persons. The result presented that their quality of life was mostly in moderate level. Factors related to quality of life was statistically significant level at 0.05, were including Income (p-value=0.022), Health (p-value=0.004), Standard living (p-value<0.001), Social relationship (p-value=0.002) and Working (p-value<0.001). In addition, the result of logistic regressions analysis showed that Occupation (p-value =0.001), Responsibility (p-value =0.771), Healthcare service (p-value =0.009), Health (p-value =0.872), Standard living (p-value =0.013), Social relationship (p-value =0.270), and Working(p-value =0.008) were potential predictors to quality of life with predictive value43.9 percent (R2 =0.439)
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) (การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2560.
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/434
Appears in Collections:Public and Environmental Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHANIPA-CHAMCHUA.pdf
  Restricted Access
5.6 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.