Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/519
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชรินทร์ บูรณะกร | - |
dc.contributor.advisor | Patcharin Buranakorn | - |
dc.contributor.author | Nang, Mwe Kham | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-15T02:00:35Z | - |
dc.date.available | 2022-07-15T02:00:35Z | - |
dc.date.issued | 2016 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/519 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2559 | th |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในนิทานเมียนมาร์ที่แปลเป็นภาษาไทย และเพื่อวิเคราะห์คุณค่าของนิทานเมียนมาร์ที่แปลเป็นภาษาไทย โดยศึกษานิทานเมียนมาร์ที่แปลเป็นภาษาไทย จำนวน 50 เรื่อง และนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัย พบว่า นิทานเมียนมาร์ที่แปลเป็นภาษาไทย สะท้อนภาพสังคมเมียนมาร์ในด้านต่างๆ ได้แก่ 1) ด้านชีวิตความเป็นอยู่ ชาวเมียนมาร์สมัยก่อนอาศัยอยู่ใกล้แม่น้ำ ทะเล และป่าเขา ชาวเมียนมาร์มีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย มีการคมนาคมทางเรือและเดินทางด้วยเท้า มีลักษณะครอบครัวที่สมบูรณ์และมีครอบครัวที่มีแต่แม่เป็นผู้เลี้ยงดูลูก 2) ด้านความเชื่อ สังคมเมียนมาร์สมัยก่อนมีความเชื่อดั้งเดิมและความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาพุทธ ชาวเมียนมาร์มีความเชื่อเรื่องผีแน็ตหรือผีนัดมาตั้งแต่สมัยโบราณ 3) ด้านค่านิยม ชาวเมียนมาร์มีค่านิยมเกี่ยวกับความกตัญญู ความมีน้ำใจ การใช้สติปัญญาและการเลือกคู่ครอง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินชีวิตของชาวเมียนมาร์ ที่ทำให้ชาวเมียนมาร์อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข 4) ด้านประเพณี ชาวเมียนมาร์มีประเพณีการแต่งงานซึ่งขั้นตอนแรกของการแต่งงานจะต้องมีประเพณีการสู่ขอ 5) ด้านการปกครอง สังคมเมียนมาร์สมัยก่อนมีพระมหากษัตริย์เป็นผู้ปกครองบ้านเมือง ผู้ปกครองจะช่วยประชาชนแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยใช้ระบบทางกฎหมายและความเมตตา ด้านคุณค่าของนิทานเมียนมาร์ที่แปลเป็นภาษาไทย พบว่า มีคุณค่าด้านความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับทับทิม และความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการปกครอง คุณค่าด้านการสอนคุณธรรมโดยสอนเรื่องความกตัญญู ความีน้ำใจ และการทำความดีละเว้นความชั่ว คุณค่าด้านการดำเนินชีวิต นิทานสอนให้รู้จักใช้สติปัญญาแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชีวิต ให้แนวคิดในการเลือกคู่ครองและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ตนเอง ด้านความบันเทิง นิทานให้ผู้อ่านได้เกิดอารมณ์ขันและความสนุกเพลิดเพลินกับเนื้อเรื่องของนิทาน | th |
dc.description.abstract | This research aims to analyze the Myanmar society and cultural reflection on 50 Myanmar tales, which was translated into Thai. The findings were presented as descriptive analysis. The results showed that Myanmar society reflection revealed different aspects: 1) The living way of Myanmar people, formerly residents lives near the river, forests, and mountains, with a wide variety of occupations. People transported on boats and on foot. They had perfect family and in single-parent family, the mother had to raise up children on her own. 2) The faith, Social Myanmar traditional belief were influenced by Buddihism and also believed in supernatural power such as apirits or ghosts. 3) The values, Myanmar people valued in gratitude, kindness, intelligence, and mate selection. These values significantly led Myanmar people lived together peacefully. 4) The traditions, Myanmar people had marital traditions which had the first step as marriage proposal. 5) The governing, Myanmar, formerly ruled the country by kings who could help people resolve problems with the legal system and compassion. The value of Myanmar folktales which translated in Thai, revealed some valuable knowledge about geography, rubies, and knowledge about the form of government. The values of teaching morals were by instilling a habit of gratitude, kindness and good deeds. The value of living lives found was to teach wisdom, resolve various problems in lives, give the concept of choosing spouses, and take responsibility of themselves; entertaining, having a sense of humor, and having fun with the stories. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | นิทานพื้นเมือง -- พม่า -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.subject | Folklore -- Burma -- History and criticism | th |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | th |
dc.subject | Content analysis (Communication) | th |
dc.subject | พม่า -- ภาวะสังคม | th |
dc.subject | Burma -- Social conditions | th |
dc.title | ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในนิทานเมียนมาร์ที่แปลเป็นภาษาไทย | th |
dc.title.alternative | Social and Cultural Reflections in Translated Myanmar Tales in to Thai | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง | th |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NANG-MWE-KHAM.pdf Restricted Access | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.