Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/534
Title: 丰子恺散文的绘画美
Other Titles: สุนทรียทางจิตรกรรมในวรรณกรรมร้อยแก้วของเฟิงจือข่าย
The Beauty of Art in Feng Zikai's Proses
Authors: 范军
Fan, Jun
谭政荣
Tan, Zhengrong
Keywords: เฟิง, จือข่าย
Feng, Zikai
ศิลปกรรมกับวรรณคดี
Arts and Literature
สุนทรียศาสตร์
Aesthetics
นักประพันธ์ -- จีน
Authors -- China
艺术与文学
美学
作家$ -- 中国
Issue Date: 2015
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: เฟิงจือข่าย คือ ศิลปินด้านศิลปวรรณคดีจีนยุคใหม่ ผู้ซึ่งผสมผสานงานวรรณกรรมและงานจิตกรรมของจีนรวมเข้าด้วยกันโดยในขณะที่เราอ่านบทประพันธ์ของท่านนั้น นอกจากสามารถเรียนรู้ในภาพจิตรกรรมของท่านแล้ว เรายังสามารถทำความเข้าใจในภาพจิตรกรรมนั้นได้ง่ายยิ่งขึ้น ด้วยบทประพันธ์ที่ท่านเขียนอธิบายได้บนภาพซึ่งการผสมผสาน ระหว่างกันนั้นได้แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงความสัมพันธ์และความเกื้อกูลระหว่างกันของวรรณกรรมและจิตรกรรมของจีน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ทำการศึกษาบทประพันธ์ร้อยแก้วของศิลปินชาวจีน "เฟิงจือข่าย" โดยใช้ทฤษฤีวรรณคดี ทฤษฎีภาพจิตรกรรมและทฤษฎีสุนทรียภาพทางศิลปะ ฯลฯ มาเป็นทฤษฎีสนับสนุน การวิจัย ศึกษาผลงานด้านศิลปะภาพวาดและงานจิตรกรรมของเฟิงจือข่าย ซึ่งมีอิทธิพลต่อการประพันธ์ร้อยแก้วโดยตรง นอกจากนี้ได้ทำการศึกษาลักษณะ "ความสัมพันธ์" ระหว่างบทประพันธ์ร้อยแล้วและภาพวาดจิตรกรรมของเฟิงจือข่าย รวมถึงภาษาทางจิตรกรรมด้าน "สีสัน" "เส้นสาย" "มุมมอง" และ "องค์ประกอบ" ของภาพที่ใช้สำหรับถ่ายทอดเป็นผลงานทางวรรณกรรมอย่างสมบูรณ์ และใช้ความสัมพันธ์ในส่วนนี้มาใช้อธิบายลักษณะ "ความงามของภาพวาด" ที่ปรากฏในบทประพันธ์ร้อยแล้วของเฟิงจือข่าย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการสื่อความหมายทางวรรณกรรมกับภาพวาดมีความแตกต่างกัน ด้วยเหตุนี้ทำให้ความงดงามของภาพวาดในบทประพันธ์ร้อยแก้วไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้เท่าเทียมกับภาพวาดทั่วไป วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงใช้มุมมองการด้านการเปรียบเทียบมาใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างบทประพันธ์ร้อยแก้วและงานด้านจิตรกรรมของเฟิงจือข่าย พร้อมกับทำการวิเคราะห์การเกิด "ความสัมพันธ์" "ความเชื่อมโยง" และ "ความเกื้อกูล" ระหว่างบทประพันธ์กับภาพวาดสุดท้าย ทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์และความแตกต่างทางความงดงามของภาพวาดในวรรณกรรมกับความงดงามของภาพวาดทั่วไป จากการศึกษาวิจัยทำให้เรามีความเข้าใจในความงดงามของศิลปะทั้งสองประเภทได้เป็นอย่างดี ทั้งยังเป็นการเสนอทฤษฎีที่ใช้ในการอ้างอิงและอธิบายความงามของภาพวาดในบทประพันธ์ของเฟิงจือข่ายอีกด้วย
Feng Zikai was an artisit who did an excellent job of combing literture and cartoons in his works, which are rarely seen in modern art histories of China. When reading his works, the carstoons explained his essays, and the essays served as references for the cartoons. This is what was called the "acculturation of painting and literature," "intercommunication between paintings and literature," and "compensation of paintings and literature." The aim of this study is to explore the aesthetics of the paintings in Feng Zikai's essay. In this study, theories of literature, paintingm aesthetics and so on are used to explore how Feng Zikai was trained to be a painter and how exactly his painting influenced his essays. From this point, we further discuss the intertexuality between essays and paintings in his works and how he transferred techniques (such as "color", "line", "insigth", and "structure") used in paintings to enrich his essays. However, the aesthetics peresnted in his essays are noy as intuitive as it is in paintings since the media of literature and paintings are different. This study first explores the motivations and purposes that promoted Feng Zikai to insist on working in different fields in an interdisciplinary approach. Second, by analyzing how the essays and cartoons are "accultured" how they "intercommunicate" and how they "compensate" for the shortcomings of the other, the aesthetics in paintings and literature can be distinguished. This study not only helps us to understand the essence of two of aesthetics, painting and literature, but also interprets the aesthetics in Fen Zikai's essays.
丰子恺是中国现代文艺史上把文学和绘画这对姊妹成功联姻的为数不多的艺术家。我们在读他散文的时候,往往可以参照他的漫画,而在欣赏他漫画的时候,也有他的散文可资解读,使其散文和漫画创作总体呈现出“文画互渗”、“文画互读”、“文画互补”的特征。 本论文将以丰子恺的散文为主体研究对象,在文学理论、绘画理论和艺术审美理论学等为理论支撑下,探究丰子恺在绘画艺术方面的修为以及所呈现出来的绘画作品对其散文创作造成的实质影响,并从中探究丰子恺散文与绘画的“互文性” 特征,以及散文作品中所借鉴的“色彩”、“线条”、“透视”、“构图” 等绘画语言转换成散文创作手段来丰富其散文作品的表达方式,从而阐述丰子恺散文中具有“绘画美”这一特点。然而,由于文学与绘画的媒介不同,所以散文作品中所表现出来的绘画美并不像纯绘画中那样直观。本论文将从跨学科比较研究的角度来阐释丰子恺坚持散文和漫画等多领域兼修的动机和目的, 并分析其散文与漫画产生“互读” “互渗” “互补” 的因缘,最终剖析绘画的美和文学作品中绘画美的本质区别与联系,进而加深我们对两种艺术不同美质的把握,为解读丰子恺散文作品的绘画美提供理论参考。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/534
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TAN-ZHENG-RONG.pdf
  Restricted Access
2.42 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.