Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/542
Title: 克立•巴莫《四朝代》与巴金《家》中女性形象比较研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์สตรี ระหว่าง “สี่แผ่นดิน” ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และ “บ้าน” ของปาจิน
A Comparative Study of Image of Feminity in "The Four Dynasties" by M.R Kreukrit and in "The Family" of Ba Jin
Authors: 纪秀生
จี้, ซิ่วเซิง
派琳•陈碧
ไพลิน เชิญเพชร
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies
Keywords: ปาจิน
Ba Jin
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.
Kukrit Pramoj, M.R.
สตรีในวรรณกรรม
Women in literature
วรรณคดีเปรียบเทียบ
Comparartive literature
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
สี่แผ่นดิน (นวนิยาย) -- ประวัติและวิจารณ์
The Four Reigns -- History and criticism
บ้าน (นวนิยาย) -- ประวัติและวิจารณ์
The Family -- History and criticism
นวนิยายจีน -- ประวัติและวิจารณ์
Chinese fiction -- History and criticism
นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์
Thai fiction -- History and criticism.
文学中的女性
比较文学
内容分析
中国小说 -- 历史与批评
泰国小说 -- 历史与批评
Issue Date: 2012
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: นวนิยายเรื่อง "สี่แผ่นดิน" ของหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช และนวนิยายเรื่อง "บ้าน" ของปาจิน เป็นวรรณกรรมที่มีความโดดเด่นมากในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันออกสมัยใหม่ วรรณกรรมทั้งสองเรื่องได้พรรณนาถึงความตกต่ำของครอบครัวสังคมศักดินา สภาพบุคคล และเรื่องราวต่างๆ ภายใต้ผลกระทบของอารยธรรมตะวันตกสมัยใหม่จากแง่มุมมนุษยธรรม นวนิยายทั้งสองเรื่องได้พรรณนาถึงสตรีจำนวนมากที่มีความคิดของตนเอง มีจิตวิญญาณที่แตกต่างจากตัวละครอื่นและมีความปรารถนาในการแสวงหาความรักที่แท้จริงและดีงาม การศึกษาครั้งนี้ ได้เปรียบเทียบตัวละครหญิงจากวรรณกรรมทั้งสองเรื่องในประเด็นต่างๆ คือ ศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมระหว่างจีนกับไทย จิตสำนึกต่อประเทศและครอบครัว จิตสำนึกต่อเรื่องเพศและชีวประวัติของตัวละครหญิงของจีนและไทย จากการศึกษาเปรียบเทียบ ผู้วิจัย พบว่า ตัวละครหญิงของจีนและไทยมีลักษณะร่วมและต่างกันตามดังกล่าวนั้น สาเหตุเป็นเพราะว่ามนุษย์มักแสวงหาค่านิยมในสังคมโลกทั่วไป เช่น สัจจะ เมตตา กรุณา และความสวยงามแล้ว ยังเป็นเพราะว่าตัวละครหญิงในวรรณกรรมทั้งสองเรื่องนั้นอยู่ในช่วงระยะเวลาที่สังคมมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและวัฒนธรรมอย่างรุนแรง ความแตกต่างในด้านจิตสำนึกต่อประเทศและครอบครัว จิตสำนึกต่อเรื่องเพศและชีวประวัติของตัวละครหญิงทั้งสองเรื่องมาจากวัฒนธรรมและระบบสังคมศักดินาที่แตกต่างกัน และความแตกต่างของฐานะสตรีในระบบวัฒนธรรม ที่สำคัญคือ มุมมองที่แตกต่างกันในการประพันธ์วรรณกรรมของผู้เขียนอีกด้วย
Both of novels Four Reigns written by Kreukrit Pramoj and Familiy written by Ba Jin are classic works in modern oriental literature history. Both of novels represent the decline of feudal family and the response behavior of the various characters accompanying this process on Humanitarian grounds. Both of Kreukrit Pramoj and Ba Jin created a lot of eye-catching female characters in the novels. They were independent and firm; they had outstandingly spirit and strong willing of striving for genuine love. This essay brought their images into the field of comparison between Chinese and Thai cultures, to explore the differences by means of home and national consciousness, gender awareness and life course in the novels.
立 • 巴莫的《四朝代》和巴金的《家》同属于近代东方文学史上极具经典性的文艺创作。两部作品都以人道主义的立场描写了近代西方文明冲击下封建家庭的没落和各色人物情状,同时也描写了大量的女性形象。这些女性形象有独立的思想,卓尔不群的精神和追求真挚美好爱情的强烈愿望。基于此,本文将两部作品中的女性形象纳入中泰文化比较的大视野中,从中泰两国女性家国意识、性别意识和生命史三个方面进行比较。通过比较,我们发现作品中中泰两国女性在 “家” 、 “国” 意识、性别意识和生命史中有同也有异。其中共同性的产生除了人类对真善美等普世价值观的追求外,还在于两部作品中的女性都置身于社会转型与文化变貌剧烈发生的历史时期;而两部作品中女性家国意识、性别意识以及生命史的差异,则根源于两国不同的社会文化、封建制度不同的组织模式,两国文化系统中女性的地位差别等,更重要的,作者在文艺创作中不同的视野是不同的文本产生的根本性原因
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2012
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/542
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf510.54 kBAdobe PDFView/Open
table of content.pdf336.6 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf409.86 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf
  Restricted Access
387.67 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
Chapter3.pdf
  Restricted Access
411.93 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
Reference.pdf451.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.