Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/546
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 范军 | - |
dc.contributor.advisor | Fan, Jun | - |
dc.contributor.advisor | ฟ่าน, จวิน | - |
dc.contributor.author | 张秋娟 | - |
dc.contributor.author | จิดาภา จารุชวลิต | - |
dc.contributor.author | Zhang, Qiujuan | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-24T05:53:23Z | - |
dc.date.available | 2022-07-24T05:53:23Z | - |
dc.date.issued | 2010 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/546 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2010 | th |
dc.description.abstract | ซินชิงเหนียน นิตยสารภาษาจีน ซึ่งถือกำเนิดในปี ค.ศ. 1915 เป็นสัญลักษณ์ของการเคลื่อนไหวด้านวัฒนธรรมและวรรณกรรมสมัย 4 พฤษภาคม เพราะได้ปลูกฝังความคิดพื้นฐานสำหรับชาวจีนในประเทศจีนและชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยอย่างกว้างขวาง มีการใช้ภาษาไป๋ฮว่า (ภาษาพูด) ในวรรณกรรมจีนยุคใหม่ เพื่อบรรยายชีวิตความเป็นอยู่ของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย นวนิยายเรื่องยาวที่เกิดขึ้นในทศวรรษที่ 50 มีอยู่ไม่มากนัก แต่มีอยู่สามเรื่องที่เป็นที่น่าเรื่องหนึ่งซึ่งประพันธ์โดยเฉินติง ในขณะที่เขียนนิยายเรื่องนี้เขามีอายุเพียง 22 ปี และได้แรงบันดาลใจจากบทประพันธ์เรื่อง "บ้าน" ของปาจีน ผู้วิจัยได้นำเรื่อง "สาวสำเพ็ง" มาเป็นคดีศึกษา เพราะเป็นเรื่องยาวที่บรรยายถึงการรวมตัวของชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลในย่านสำเพ็ง ถนนเยาวราช ซึ่งได้สะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่และสังคมชาวจีนในประเทศไทยในช่วงทศวรรษที่ 50 นวนิยายเรื่อง "สาวสำเพ็ง" ใช้สถานที่ย่านสำเพ็ง ซึ่งเป็นย่านชุมชนชาวจีนและเป็นย่านธุรกิจการค้าที่เก่าแก่ที่สุดบนถนนเยาวราชเป็นฉากหลัง เฉินติง บรรยายถึงชีวิตความเป็นอยู่ของบรรดาเจ้าของธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในชีวิต ความขมขื่นของการพลัดพรากจากบ้านเกิด ความปิติยินดีที่ได้พานพบกันอีก และพิษร้ายของแนวคิดศักดินาจีนกับแนวคิดหัวก้าวหน้าที่มีอิทธิพลต่อเยาวชนชาวจีนโพ้นทะเลรุ่นใหม่อย่างกว้างขวาง รวมทั้งได้บันทึกเรื่องราวการประสานกันอย่างกลมกลืนของชาวจีนโพ้นทะเลกับสังคมไทย ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้ผู้วิจัยให้ความสนใจนวนิยายเรื่องนี้มากเป็นพิเศษ แต่เนื่องจากมีผู้ศึกษาค้นคว้านวนิยายเรื่องนี้น้อยมากทั้งในประเทศจีนและประเทศไทย ผู้วิจัยจึงได้พยายามศึกษา เพื่อทำความเข้าใจสภาพสังคมของชาวจีนในช่วงทศวรรษที่ 50 ให้มากขึ้น รวมทั้งศึกษาถึงอิทธิพลของวรรณกรรมสมัย 4 พฤษภาคม ที่มีต่อวรรณกรรมจีนและสังคมจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ในขณะเดียวกัน เพื่อเป็นการแสดงความระลึกถึงที่มีต่อผู้ประพันธ์เฉินติง ที่ได้อุทิศตนซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจีนไทยและวรรณกรรมจีนในประเทศไทย เป็นที่น่าเสียดายที่เฉินติงได้ถึงแก่กรรมก่อนเวลาอันควร จึงทำให้มีผู้ศึกษาค้นคว้าในงานของเขาค่อนข้างน้อย ไม่ว่าจะในประเทศหรือต่างประเทศ ดังนั้น หัวข้อวิทยานิพนธ์ที่ผู้วิจัยเลือกศึกษาค้นคว้า เรื่อง "สาวสำเพ็ง" ของเฉินติง จึงถือเป็นงานวิจัยบุกเบิกเรื่องแรกของทั้งในประเทศและต่างประเทศ หวังว่าเมื่อได้อ่านผลงานวิจัยชิ้นนี้โดยสังเขปแล้ว จะทำให้รู้จักและเข้าใจผลงานประพันธ์เกี่ยวกับสังคมของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยของนักเขียนที่ประสบความสำเร็จอย่างงดงามผู้นี้ดีมากยิ่งขึ้น | th |
dc.description.abstract | In 1915, the "54" movement, the movement that led to new Chinese culture and literature, symbolized by the first publication of the "New Youth" magazine, not only inspired the mind of the Chinese people, but also had an extensive influence on the overseas Chinese society in Thailand. The movement also brought about the use of spoken language in the Thai-Chinese literature, to express the country's social life and the mental journey of the overseas Chinese. During the development process, a few long novels were created, of which three were found to have a profound influence and attracted much attention. One is the topic for this research study, was "The Young Ladies in Samping" composed by Chending. "The Young Ladies in Samping" is the only novel, up to this day. completed by one single writer in the history of the Thai-Chinese literature. In the 1950s, under the influence of Bajin's "Family" Chen ding, at 22, passionatelt wrote about the inhabitance of the overseas Chinese in Thailand, Chinatown, using the Samping Street as background. His novel greatly reflected the local Chinese community and their living conditions, and was also known as the miniature of the Chinese society in Thailand in the 1950s. "The Young Ladies in Samping" had made used of Bangkok's most ancient's Chinatown, also the liveliest business street -- Samping street -- as the nove; background. Through the description of the life of Master Xing Ji Hao and his family, through their grieves and joys of separation and reunion, the novel deeply revealed the harm of feudalism on the younger generation, and described how extensively the Chinese modern thinking had affected the mind of Thai-Chinese new generation. It recorded the journey of the Chinese people in Thailand, how they perfectly diffused themselves and intergrated into the Thai society. Based on the above reason, the researcher had paid much attention to the novel "The Young Ladies in Samping". But due to many different reasons, there has not been much study done in China and Thailand on this piece of work. The researcher, through her best attempt and effort, hoped to enhance the understanding of the reader towards the Thai-Chinese society in the 1950s, and to enable them to grasp how great the "54" new literature had actually influenced the Thai-Chinese literature and society. Through this research study, the researcher also wants to express console and commemoration to the previous generations who had, like Chending, made great contributions to the Thai-Chinese literature and Thai-Chinese cultural exchange. As Mr. Chending died at an early age, research on hie work by domestic and foreign scholar was very few. This research topic is the first Master thesis paper to specifically write about Chending's novel. It is a pioneer Thai-Chinese literature research concerning Chending's "The Young Ladies in Samping". Through minimal understanding of Chen ding, the researcher hopes that more people would have a deeper understanding of this talented writer, who through self-learning had developed into a remarkable writer, as well as the Thai-Chinese society described by his writing. | th |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | วรรณคดีจีน -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.subject | Chinese literature -- History and criticism | th |
dc.subject | วรรณคดีเปรียบเทียบ | th |
dc.subject | Comparative literature | th |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | th |
dc.subject | Content analysis (Communication) | th |
dc.subject | ปาจิน -- แนวการเขียน | th |
dc.subject | Bajin -- Literary style | th |
dc.subject | เฉินติง -- แนวการเขียน | th |
dc.subject | Chen, Ding -- Literary style | th |
dc.subject | 中国文学 -- 历史与批评 | - |
dc.subject | 比较文学 | - |
dc.subject | 巴金 | - |
dc.subject | 陈仃 | - |
dc.title | 巴金《家》与陈仃《三聘姑娘》的比较研究 | th |
dc.title.alternative | การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่อง "บ้าน" ของปาจินกับเรื่อง "สาวสำเพ็ง" ของเฉินติง | th |
dc.title.alternative | A Comparative Study of Literary Work : "Family" by Ba Jin and "The Young Ladies in Sampeng", by Chen Ding | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.pdf | 636.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
TableofContents.pdf | 187.31 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chapter1.pdf | 460.87 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chapter2.pdf Restricted Access | 438.2 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter3.pdf Restricted Access | 492.44 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter4.pdf Restricted Access | 398.09 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
References.pdf | 447.05 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.