Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/549
Title: 泰国新生代短篇小说研究 以杨玲译本《画家》为例
Other Titles: วิเคราะห์บทประพันธ์เรื่องสั้นไทยร่วมสมัยจากงานแปลเรื่องสั้น "จิตรกร" ของหยางหลิง
The Study on New Generation Short Novel in Thailand - A Case Study of Yang Ling' s Translation Collection the Artist
Authors: 徐华
Xu, Hua
สวี่, ฮว๋า
陈镇忠
ฉัตรชัย ตันติรังสี
Keywords: หยางหลิง -- แนวการเขียน
Yang Ling -- Literary style
เรื่องสั้นจีน -- การแปลเป็นภาษาไทย
Chinese fiction -- Translations into Thai
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
中国短篇小说 -- 泰语翻译
杨玲
Issue Date: 2014
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับกระแสวัฒนธรรมตะวันตกมาช้านาน ฉะนั้นวรรณคดีไทยจึงได้ปรากฏร่องรอยของวัฒนธรรมในรูปแบบตะวันตก เรื่องสั้นไทยมีความเป็นมากว่าร้อยปีแล้ว ในช่วงแรกผู้ประพันธ์ ส่วนใหญ่เป็นพระบรมวงศานุวงศ์หรือบุคคลขั้นสูงที่เดินทางไปเรียนที่ยุโรปและอเมริกา ซึ่งต่างได้รับการศึกษากล่อมเกลาของวัฒนธรรมตะวันตก ดังนั้น ผลงานจากการประพันธ์ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาหรือท่วงทำนองจึงมีรูปแบบของวรรณกรรมตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ 3 และ สมัยรัชกาลที่ 5 ในหลวงทั้งสองพระองค์นี้ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีหลายเรื่อง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงประพันธ์ กฤษณาสอนน้อง ลิลิตตะเลงพ่าย พระราชพิธี 12 เดือน สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงประพันธ์ไกลบ้าน หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง ประพันธ์วรรณคดี ปกิณกะ และสารคดี ท่องเที่ยวนครวัด ประวัติศาสตร์ไทย เมื่อถึงศตวรรษที่ 20 กุหลาบ สายประดิษฐ์ เจ้าของนามปากกา "ศรีบูรพา" เข้าสู่วงการวรรณกรรมในฐานะนักเขียนระดับชนชั้นสามัญชน วงการวรรณกรรม จึงเปลี่ยนทิศทางจากราชนิกุลสู่สามัญชน ในปี ค.ศ. 1950 ที่ผ่านมา มนัส จรรยงค์ ผู้มีความโดดเด่นในเชิงเรื่องสั้น ท่านเขียนแนวลีลาชาวบ้าน เมื่อถึงปี ค.ศ. 1970-1980 เป็นต้นมา นักประพันธ์รุ่นใหม่ ได้เริ่มสร้างสรรค์ผลงานเรื่องสั้นมากมาย นับว่าเป็นตัวแทนในประวัติศาสตร์วรรณกรรมไทยสมัยใหม่ ซึ่งนักเขียนส่วนใหญ่มาจากสังคมชนบท เมื่อได้ผสมผสานกับแนวทางตะวันตก จึงได้ปรากฏวรรณคดียุคใหม่ โดยเฉพาะลูกจีนที่เกิดในไทย เช่น คุณหยางหลิง ผู้ซึ่งรวบรวมเรื่องสั้นไทยหลายเรื่องมาแปลเป็นภาษาจีนโดยการจัดพิมพ์เป็นหนังสือ "จิตรกร" รวม 36 เรื่อง แปลจากนักเขียนเรื่องสั้นยุคใหม่ซึ่งมีความโดดเด่นในเชิงประพันธ์โดยสะท้อนถึงความรู้สึก อารมณ์ จิตใจ จากผู้ประพันธ์อย่างยอดเยี่ยม ดังมีเอกลักษณ์พิเศษจำเพาะ เช่น การใช้ภาษาพูด การบรรยายถึงบุคลิก ท่วงทีของตัวละคร คุณหยางหลิงแปลเป็นภาษาจีนได้ถึงอารมณ์ของต้นฉบับอย่างน่ายกย่อง อันเป็นสิ่งดึงดูดให้พวกเราติดตามศึกษาค้นคว้าในเชิงลึกต่อไป
Thailand is a country deeply influenced by western culture. Up to now, the literature and art in Thailand still present a clear western mark. The creation of Thai short novels has a history of over one hundred years. The short novels writers mainly were reyal relatives who had studied in Europe and the United States and accepted the western culture education and edification. The content and style of their literary works were influenced by British novels. Rama III and Rama V were both in love with novels. Rama III was the writer of Black Princess aand Meng People's Failure, and Rama V is the writer of Twelve-month Royal Ceremony and Homesickness etc. Prince Dunlop also loved writing poetry, prose and travel notes very much, for instance, Nakornwat Travels, Historical Story and Eulogium. However since 1920s, the civilian writer Sriburapha entered the literary circle. The short novel creation in Thailand completed the historic turning point from the noble to civilians. In 1950s, there Manat Zhanrong further promoted the transformation of Thailand's short novels to the nationalization and localization. In 1980s and 1990s, with the young and middel-aged short-novel writers in Thailand as representatives, the new generation writers were rising. Their diverse work styles were influenced by local tradition and the western culture etc., which presented a new atmosphere. The Sino-Thai writer Ms Yang Ling's translation of Thai short novel The Artist included 36 pieces of works. The translation of The Artist accurately conveys the writer's emotion and intention and presents the language features of unique creative vision as well as the emotional and psychological expression, which provides an available text for the study on short novels in Thailand.
泰国是一个受西方文化影响很深的国家,至今为止泰国的文学艺术仍然呈现出十分明显的西方印记。泰国短篇小说的创作经历了一百多年的历史,最早的短篇小说作者大多数是皇亲国戚。泰国的拉玛三世和拉玛五世皇都是文学爱好者,拉玛三世著有《黑公主教妹》、《孟人败北》,拉玛五世著有《十二个月的皇家典礼》、《思乡》等散文诗歌。丹隆亲王也十分喜欢撰写诗歌、散文和游记,如,《那坤瓦游记》、《史话》、《讪颂德》等。但从上世纪二十年代开始,作家西巫拉帕以平民身份登上文坛,使泰国短篇小说创作完成了由贵族向平民的历史性转折。到了上世纪五十年代,玛纳詹荣又进一步推动了泰国短篇小说向民族化、本土化的转型。进入八、九十年代以来,以泰国中青年短篇小说作家为代表的泰国新生代作家日益崛起,他们的作品风格多样,受到来自本土传统、西洋派等文化因素的影响呈现出新的气象。泰华作家杨玲女士翻译的泰国短篇小说集《画家》收录的36 篇作品让我们领略了新生代作家的创作风格和其作品的思想内涵。《画家》译本准确地传达出了原作者的创作情感和意图并呈现出独特创作视角的语言特征以及情感和心理的表达方式,从而为研究泰国作家短篇小说提供了可以利用的文本。 本论文选题的目的在于通过对杨玲女士的短篇小说集《画家》的解读,了解泰国新生代作家视角下的泰国社会风貌,以及作家和他们所创作的人物的内心世界,并进一步探讨其泰文小说的文学特点,艺术风格和未来的发展趋向。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/549
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Contents.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.