Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/571
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 何福祥 | - |
dc.contributor.advisor | นริศ วศินานนท์ | - |
dc.contributor.advisor | Naris Wasinanon | - |
dc.contributor.author | 陈明利 | - |
dc.contributor.author | ภัทรธิดา โลหะวิจิตรานนท์ | - |
dc.contributor.author | Pattarathida Lohavichitranont | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-30T11:00:09Z | - |
dc.date.available | 2022-07-30T11:00:09Z | - |
dc.date.issued | 2009 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/571 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2009 | th |
dc.description.abstract | 所谓泰华文学是指生活在泰国的华人、华侨作家使用“汉语”创作的文学作品。泰华文学是世界华文文学的分支,也是泰国文学的一个组成部分。虽然司马攻与曾心两位作家生于不同的国家,但都是以散文闻名于海内外的作家。然而,他们对待生活的态度和艺术个性又很不相同。他们的散文一直没有离开对人的关注,无论是抒写亲情的散文,或是这些晚年的忆人之作,都能通过一两件小事寥寥几笔便勾勒出人物的音容笑貌。 本文主要分四部分。第一部分:司马攻与曾心的社会历史文化背景。主要从历史文化背景方面,对两人各自进行了分析;第二部分:散文中的文化主题比较。从自然景物、乡土文化和宗教文化三个方面,对两人的散文作品的文化主题进行了分析;第三部分:司马攻与曾心散文语言风格比较。先分别就两人的散文语言风格进行了剖析,然后,对两人的语言风格进行了比照。第四部分是结论。由于两人的文化历史背景不同,在散文主题表达上,在围绕着自然景物、乡土文化和宗教文化的表达上,表示出不同的文学特点,体现了中泰两种文化的交汇与融合。在散文的语言风格上有汉字分析和对照,他们写作的语言特色。我们看到,无论是司马攻还是曾心,其散文语言虽有不同,各有特色,但在他们的作品中都体现出与中国传统文化有着割舍不开的渊源关系。 本论文对司马攻与曾心的作品进行了分析比较,找出了他们的异同之处,。两位作者都是华人,在泰国落地生根。他们在泰国做了十多年的生意。虽然他们 虽然他们工作时间很忙,但是他们都用工作之余创作自己喜爱的文学作品,繁荣和促进了泰华文学的发展 | th |
dc.description.abstract | วรรณกรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน โดยส่วนใหญ่มุ่งเน้นบอกเล่าเรื่องราวการดำเนินชีวิตของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย นักเขียนมักใช้ภาษาจีนในการสร้างผลงานของตนเอง วรรณกรรมของชาวไทยเชื้อสายจีนนั้นนับเป็นวรรณกรรมระดับโลกแขนงหนึ่งและถือเป็นส่วนประกอบของวรรณกรรมไทย แม้ซือหม่ากงและเจิงซินทั้งสองท่านจะกำเนิดในสถานที่ที่ต่างกัน(จีนและไทย) แต่ทั้งสองต่างเป็นนักเขียนทีมีชื่อเสียงโด่งดังทั้งภายในประเทศจีนและประเทศไทย ซือหม่ากงและเจิงซินมีความแตกต่างในศิลปงานเขียนของตนเองอย่างมาก ทว่างานเขียนเรื่องสั้นของทั้งสองต่างก็ให้ความสำคัญกับคนเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสั้นบรรยายความรู้สึก หรือผลงานที่มักเน้นเรื่องราวความสัมพันธ์เมื่อครั้งอดีต ซึ่งเรื่องเล็กน้อยเหล่านี้สามารถพบได้จากตัวละครในงานเขียนของทั้งสองท่าน วิทยานิพนธ์บทที่ 1 บอกเล่าภูมิหลังทางสังคมของซือหม่ากงและเจิงซิน วิเคราะห์ความแตกต่าง ประวัติความเป็นมาของนักเขียนทั้งสอง บทที่ 2 วิเคราะห์เปรียบเทียบหัวข้อหลัก 3 ด้าน ทัศนียภาพธรรมชาติ วัฒนธรรมท้องถิ่น และศาสนาที่สื่อถึงในงานเขียนเรื่องสั้นของทั้งสอง บทที่ 3 เปรียบเทียบรูปแบบการใช้คำสำนวนต่างๆ ในงานเขียนเรื่องสั้นของทั้งสอง จากนั้นนำมาวิเคราะห์ความแตกต่าง บทที่ 4 บทสรุปภูมิหลังที่แตกต่างกันล้วนสื่อให้เห็นความแตกต่างในงานเขียน สรุปหัวข้อในแต่ละบท ทิวทัศน์ธรรมชาติ วัฒนธรรมท้องถิ่น และวัฒนธรรมศาสนาที่แสดงออกในงานเขียนเรื่องสั้น แสดงให้เห็นถึงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมของจีน-ไทยสองประเทศ แม้ว่าแนวการใช้ภาษาของทั้งสองต่างมีจุดเด่นของตนเอง แต่งานเขียนของทั้งสองล้วนเกี่ยวข้องผูกพันกับวัฒนธรรมจีนอย่างเห็นได้ชัด โดยสรุป วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มองผ่านผลงานของนักเขียนทั้งสองท่าน และการวิเคราะห์เปรียบเทียบจากผู้เคยวิเคราะห์ผลงานของซือหม่ากงและเจิงซินนำมารวบรวมวิเคราะห์อีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้เห็นถึงความแตกต่างที่โดดเด่น ท่านทั้งสองเป็นชาวจีนโพ้นทะเลที่มาตั้งรกรากในประเทศไทยนานหลายสิบปี และได้ประกอบธุรกิจจนเป็นที่ยอมรับและรู้จักกันในวงกว้างขวาง แต่ถึงอย่างไรก็ดี ทั้งสองก็ยังคงยินดีที่จะสร้างสรรผลงานทางด้านวรรณกรรมอันทรงคุณค่าและคู่ควรแก่การถ่ายทอดสู่ชนรุ่นหลัง | th |
dc.description.abstract | The so-called peaceful China literature is refers to the life in Thailand's Chinese people, the overseas Chinese writer to use the literary work which “Chinese” creates. The peaceful Chinese literature is the world Chinese literature branch, is also a Thai literature constituent. Although, Sima Gong and Zeng Xin both was born in separate country, but they are well-known by the prose in everywhere writers. However, they treat the life the manner and the artistic individuality are very not also same, also vigorously avoids regarding reality social life. Their prose had not left to person's attention, regardless of being expresses in writing the dear ones the prose, perhaps these old ages recalled that work person, can then outline character's voice and face smiling face through 1-2 minor matter very few several. This article is mainly divided four parts. The first part: Sima Gong and once heart's social history cultural context. Mainly from the history cultural context aspect, respectively has carried on the analysis to two people; The second part: In prose cultural subject comparison. From the natural scenery, local cultural and the religious culture three aspects, have carried on the analysis to two person of prose work's cultural subject; The third part: Sima Gong compared with once the heart prose language style. Has carried on the analysis separately first on two person of prose language style, then, has carried on to two people according. The fourth part is a conclusion. In brief, two person of culture historical perspective is different, in the prose subject expression, was revolving the natural scenery, the local culture and the religious culture carries on has dispersed cultural the expression. Has manifested during the Chinese-Thai two state two culture connection brilliant color. In the prose language style, through to both respective analysis and the comparison, we saw that regardless of were Siam attacks or once the heart, although its prose language had the difference, the expression different characteristic, but has with China traditional culture shears the origin relations which the shed did not open. In conclusion, this thesis provides insight into the article written by two famous novelists, Si Ma Gong and Zeng Xin, and highlights the outstanding differences between the two. As migrant Chinese who have settled in Thailand for the past 20 odd years, they still found the time to put their thoughts into written words despite the demands of running a business that dominates their time. The splendid literatures they have been able to create will be available for the enjoyment of many more generations to come. | th |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | เรื่องสั้นจีน -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.subject | Chinese fiction -- History and criticism | th |
dc.subject | วรรณคดีเปรียบเทียบ | th |
dc.subject | Comparative literature | th |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | th |
dc.subject | Content analysis (Communication) | th |
dc.subject | ซือหม่า, กง | th |
dc.subject | Sima, Gong | th |
dc.subject | Zeng, Xin | th |
dc.subject | เจิงซิน | th |
dc.subject | 曾心 | th |
dc.subject | 司马攻 | th |
dc.subject | 司马攻 | - |
dc.subject | 中国短篇小说 -- 历史与批评 | - |
dc.subject | 内容分析 | - |
dc.title | 司马攻与曾心的散文作品比较研究 | th |
dc.title.alternative | ศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่องสั้นของซือหม่ากงและเจิงซิน | th |
dc.title.alternative | The Theory Comparison between the Prose of Sima Gong and Zeng Xin | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.pdf | 427.98 kB | Adobe PDF | View/Open | |
TableofContents.pdf | 353.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chapter1.pdf | 349.05 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chapter2.pdf Restricted Access | 354.2 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter3.pdf Restricted Access | 509.13 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
References.pdf | 430.93 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.