Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor陈乐群-
dc.contributor.advisorXu, Hua-
dc.contributor.advisorสวี, ฮว๋า-
dc.contributor.author陈乐群-
dc.contributor.authorภานุวัตร อภิรักษ์มณีกุล-
dc.date.accessioned2022-07-30T11:27:40Z-
dc.date.available2022-07-30T11:27:40Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/574-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011th
dc.description.abstract"ป้าอ๋องอำลาสนมรัก" เป็นหนึ่งในนวนิยายโศกนาฏกรรมของ "หลี่ปี้ฮว๋า" นักเขียนสตรีที่มีชื่อเสียงชาวฮ่องกง นวนิยายเรื่องนี้เป็นเรื่องรักสามเส้าระหว่างหนึ่งหญิงสองชาย ชีวิตของเด็กชายผู้หนึ่งที่ต้องประสบชะตากรรมอันเลวร้าย อันเป็นผลกระทบจากขนบธรรมเนียมประเพณี จารีตดั้งเดิม และการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เนื่องจากเขามีหน้าตางดงามคล้ายสตรีเพศ จึงถูกคัดเลือกให้แสดงบทตัวนางมาโดยตลอด และก่อให้เกิดความรู้สึกสับสนในบทบาทของชีวิตตัวเองจนแยกไม่ออกระหว่างชีวิตจริงกับบทละคร เขากับศิษย์ผู้พี่ต่างเติบโตจากคณะงิ้วเดียวกัน ต่างร่วมทุกข์ร่วมสุขกันมาจนเติบใหญ่ จนกระทั่งเกิดเป็นความรักขึ้น ครั้นเมื่อศิษย์ผู้พี่ได้แต่งงานกับหญิงโสเภณี ปมความขัดแย้งระหว่างเขาทั้งสามจึงเกิดขึ้น นอกจากปัญหาเรื่องความรักแล้ว ยังเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอันนำไปสู่การทรยศหักหลังกันเพื่อเอาตัวรอด และกลายเป็นโศกนาฏกรรมทางความรักในที่สุด หลี่ปี้ฮว๋า พรรณนาสาเหตุของการแปรเปลี่ยนของจิตใจจนกลายเป็นรักร่วมเพศ และความขัดแย้งภายในอย่างละเอียดอ่อนและลึกซึ้ง สะท้อนผลกระทบจากคร่ำครึทางความคิดและความเสื่อมโทรมของจารีตประเพณีดั้งเดิม อีกทั้งพรรณนาความรักความรู้สึกระหว่างหนึ่งหญิงสองชาย ปมขัดแย้งระหว่างรักต่างเพศกับรักร่วมเพศ ปัญหาความยุ่งยากซับซ้อนต่างๆ ได้อย่างมีอรรถรส หากมองสังคมจีนอย่างผิวเผินอาจะดูเหมือน จะไม่มีปัญหารักร่วมเพศเหมือนกับประเทศอื่นๆ หรืออาจมีน้อยกว่า เนื่องจากเป็นเรื่องที่อ่อนไหวต่อความรู้สึกในสังคมจีน และมักถูกปกปิดเป็นความลับ งานศึกษาวิจัยเรื่องนี้จึงยังไม่มีมากนัก ดังนั้น ข้อมูลด้านนี้จึงมีไม่มากนัก เนื่องจากชาวจีนรักร่วมเพศไม่กล้าแสดงตน ไม่กล้าแสดงออกถึงความคิด ความรู้สึกที่แท้จริงออกมา จึงมักสะท้อนออกมาในรูปแบบงานวรรณกรรม และภาพวาด สังคมจีนไม่เพียงแต่ไม่ยอมรับ แต่ยังดูถูกเหยียดหยามพวกรักร่วมเพศอีกด้วย แม้ในปัจจุบันปัญหาดังกล่าวก็ยังไม่ได้รับการแก้ไข และยังคงซ่อนอยู่ในซอกหลืบของสังคม วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ แบ่งออกเป็นสามส่วน ดังนี้ ส่วนแรกเป็นการวิเคราะห์ภูมิหลังงานวรรณกรรม "ป้าอ๋องอำลาสนมรัก" ซึ่งผู้แต่งบรรยายถึงชีวิตของเด็กหนุ่มผู้หนึ่ง ที่ได้รับผลกระทบจากขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีดั้งเดิม จนทำให้จิตใจของเขาเบี่ยงเบนในที่สุด อีกทั้งเหตุปัจจัยอื่นๆ เช่น ภูมิหลังส่วนบุคคล ภูมิหลังทางครอบครัว และทางสังคมที่เกื้อหนุนให้เกิดปัญหาการเบี่ยงเบนทางเพศด้วย ส่วนที่สอง วิเคราะห์รูปแบบการแสดงออก โครงเรื่อง และลักษณะตัวละครโดยนำเอาทฤษฎีทางจิตวิทยามาวิเคราะห์ความรู้สึกนึกคิดและพฤติกรรมของตัวละครเอก ส่วนที่สาม วิเคราะห์คุณค่าและผลกระทบต่อสังคม ซึ่งผู้แต่งได้สร้างบทบาทตัวละครแต่ละคน ประกอบกับนำศิลปะการแสดง และความผันผวนของแต่ละยุคสมัยมาร้อยเรียงเป็นปมเรื่องสำคัญ ซึ่งให้แง่คิด คุณค่า และสะท้อนปัญหาสังคมได้เป็นอย่างดี ถึงแม้จะมีการตีแผ่ปัญหาสังคมกลุ่มรักร่วมเพศตามข่าวสาร บทความวิชาการ นวนิยายหรือภาพยนตร์ อยู่เป็นจำนวนมากในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอันดีต่อปัญหารักร่วมเพศ และแสดงความเห็นใจในกลุ่มรักร่วมเพศ แต่กระนั้น ก็ยังมีผูัที่ไม่เข้าใจต่อปัญหาดังกล่าวอยู่เป็นจำนวนไม่น้อย ดังนั้น เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างรักร่วมเพศกับรักต่างเพศ และเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ผู้เขียนจึงได้นำหลักทฤษฎีทางจิตวิทยาของนักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงระดับโลกมาวิเคราะห์ตัวละครเอกในนวนิยายเรื่อง ป้าอ๋องอำลาสนมรัก จนสามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของผู้เขียนได้เป็นอย่างดีth
dc.description.abstract"Farewell to My Concubine", the tragic novel, is one of the work from Li BiHua, famous Hong Kong writer. This novel tells about love triangle amongst one woman and two men. One of the male character encounters the ill fate, consequenced by old tradition, political & cultural revolutions. With the face of beauty and effeminate refined figure, he had always been casted for female role. Growing the confusion in himself between stage role and real life, he has the sentimental love towards his Chinese opera senior co-actor, whom he has spent his life since he entered opera clan. Later, the senior marries with the lady, causing love triangle and conflict. In the addition of political and cultural revolution, the situatiom escalates and leads to betrayal and disclosure on each other, ending with love tragedy. Li BiHua deeply elaborated this tragedy about sexual preference transform and conflict delicately. This mirrors the consequences of old thought and tradition. Superficially, Chinese society seems not to have or having less the homosexual issues than other countries. Because homosexual is a sensitive and contraversial as well as secretive towards Chinese sentiments. Therefore, there is no many studies and research on this issue. Information on this issue is rare and hardly available. Chinese homosexual do not open themselves to public, and not even speak their minds. Because Chinese society does not accept homosexuality, they also insults on them. Exposure on homosexuality only reflects in the forms of novel and painting. This study is comprised of three parts. First, Analysis on the background of the novel "Farewell to My Concubine" the author describes the fate of young man manipulated by traditions effecting on his deviating mind, also with many other factors emphasizing on his family, his background and society. Secondly, Analysis on the expression, plot and characters. On the Psychology basis, this study would analyze the thinking of the leading characters as well as driving factors of behaviors. Thirdly, Analysis on values and impacts on society, the author tangles the characters with performing arts and change of time, showing how the novel speaks to the society, At present, homosexual society and its problem have been revealed through article, novel, news and film so as to comprehened the problem and sympathize on homosexuality. However, many people still have not much understanding of this problem. Therefore, the analysis on the leading character in the novel "Farewell to my Concubine" base on world famous psychological theory for the sake of well comprehension will be the success of the aim of this study.th
dc.description.abstract《霸王别姬》是香港著名女作家李碧华小说集中的一篇悲剧小说。这篇小说是关于二男一女的三角式爱情故事。其中着重刻画了一个男孩子的命运因为受到社会传统、风俗文化和时代变化的影响而不断变化的过程。由于长相清秀纤细, 他被选派学唱青衣的角色, 逐渐地对自己的身份产生了混淆之感, 分不清现实与戏剧中的角色。因为跟师兄一起长大, 朝夕相处而渐渐对师兄产生了异样的情愫。而他的师兄后来迎娶了女人为妻, 造成了三个人感情世界的纠葛与矛盾。此外,在 “文革” 这个时代的变化中, 他们也受到了影响,都被迫彼此出卖, 被迫揭发个人的身世, 也带来了爱情悲剧。 李碧华的这篇爱情悲剧故事, 细腻、深刻的刻画出了同性恋者内心的变化和矛盾, 而且反映出了中国社会腐朽思想和堕落现象的传统影响。通过对二男一女的情感描写, 同性恋与异性恋的冲突, 展示了人在角色错位时产生的多面性和复杂性。 中国社会似乎没有存在着像其他国家那么严重的同性恋问题, 因为中国社会对此一问题的态度还是相对保守的, 所以这方面的研究还是不多的, 因此相关的资料也比较难于寻找。中国的同性恋者不敢表达自己的内心, 不敢表达自己真正的感觉和想法, 只能反映在一幅画或者一部小说里面。因为中国人大多数不仅不能接受,而且 歧视甚至蔑视他们。所以, 同性恋问题并没有得到很好的解决, 它还存在于社会中的黑暗角落。 本论文的主体部分包括三章。第一章论述《霸王别姬》小说的创作背景。李碧华叙述一个男人的生活, 因受到社会传统、风俗文化的影响, 而使他个人的心理产生变态。本文将从他的个人背景, 家庭背景和社会背景三个方面进行分析研究。 第二章论述《霸王别姬》小说的表达方式。分析小说的故事情节和人物形象分析, 以及从心理学理论来分析主人公的情感世界, 分析构成其行为的主要原因。 第三章论述小说的创作意义和影响。李碧华将人物角色、艺术和时代的变化融合在一个故事中, 探讨在社会上有何意义与影响。 虽然目前有不少新闻、文章、小说、或者电影片揭开了同性恋社会与问题, 让人们更了解同性恋问题也表示同情同性恋者, 但是还有不少的人对此问题不太理解。因此, 为了减少同性恋与异性恋的冲突与矛盾, 也让读者对同性恋有更多的认识, 更正确和更深的理解。笔者以世界著名心理学家的理论来解析《霸王别姬》小说的主 人公,结果得到成功, 达到笔者的目的。-
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectหลี่, ปี้ฮว๋าth
dc.subjectLi, Bihuasth
dc.subject李碧华th
dc.subjectรักร่วมเพศth
dc.subjectHomosexualityth
dc.subjectนวนิยายจีนth
dc.subject小说th
dc.subjectChinese fictionth
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth
dc.subjectContent analysis (Communication)th
dc.subject中国小说-
dc.subject同性恋-
dc.title论李碧华 《霸王别姬》同性恋之解析th
dc.title.alternativeวิเคราะห์ชีวิตรักร่วมเพศจากนวนิยายของหลี่ปี้ฮว๋า เรื่องป้าอ๋องอำลาสนมรักth
dc.title.alternativeAn Analytical Study of Homosexuality in Li Bihuas' Novel "Farewell to My Concubine"th
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineวรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัยth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phanuwat-Apirakmancekul.pdf
  Restricted Access
2.28 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.