Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor许总-
dc.contributor.advisorXu, Zong-
dc.contributor.advisorสวี, จ่ง-
dc.contributor.author吴鸿源-
dc.contributor.authorวิชาญ ศิริกาญจนโรจน์-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies-
dc.date.accessioned2022-07-30T12:24:12Z-
dc.date.available2022-07-30T12:24:12Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/579-
dc.descriptionThesis (M.A.) -- (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011th
dc.description.abstract红色文学主要是以革命年代发生的故事为题材,塑造了一批从事不同革命活动的典型英雄人物,是围绕着他们所进行的各种革命活动而创作出来的一系列文学作品。这一概念不只是对中国和泰国而言,早在前苏联就曾经创作出很多红色文学作品,如高尔基的《母亲》,奥斯特洛夫斯基的《钢铁是怎样炼成的》等。这些经典的红色文学作品对中国红色文学的创作有着很大的影响。 中国红色文学主要是产生在20世纪50-60年代,是在马列主义和毛泽东的文艺思想指导下创作的作品,反映着中国革命不同历史时期的发展进程,再现了当时的革命背景、艰苦卓绝、流血牺牲的斗争和炮火连天的战场。它的产生时代背景具有三个特征:有一个统治全国的红色政权,有一批长期接受中国共产党教育的红色作家,有一大批热心的红色读者。泰国红色文学作品是反映了广大人民对当时社会的不满,揭露了泰国的病态社会,阶级压迫与政治上的腐败,唤起泰国人民为美好的生活而起来斗争。主要是产生在20世纪50-70年代,当时处于在军人独裁的白色统治之下;其作品被禁止出版发行,除了少数的读者以外,广大读者是看不到的。 本论文在中泰比较文学方面,首次对中泰红色文学进行了比较研究,开拓了中泰红色文学的研究领域,探讨了中泰红色文学的共性与特性,分析了中泰红色文学不同的社会背景,民族文化,宗教宗教信仰,比较了两国红色文学的主要作品和作家,指出了红色文学的社会意义和文学价值。通过比较中泰红色文学的产生和发展过程,我们可以看到两国红色文学虽然有着不同的时代背景,但中泰两国的红色文学有着一个共同点,即红色文学反映的主要是被压迫民族和被压迫人民的革命斗争故事,揭露了社会的不平等,地主和资本家的剥削与压迫,政府的独裁专制。可以说红色文学也是底层人民的文学,是革命的文学。两国红色文学的作家都有着共同的革命理想,有着为民主、自由、平等的社会而奋斗的共同理念,有着鼓舞和唤醒民众为真理而斗争的共同历史使命,有着为人民而创作的共同责任感。本论文采取了比较分析和综合研究的方法,探索了在不同社会制度、不同民族、不同文化和不同时代背景下,两国红色文学在文学创作上的特点,剖析了这些文学作品的思想意义和社会意义。本论文共分为三章:第一章:综述了中国红色文学的产生与内容特色,列举了具有代表性的中国红色文学作品和主要作家的文学创作。第二章:阐述了泰国红色文学的产生与发展过程,指出了泰国红色文学的三个时期,分析了泰国红色文学产生前后的四个不同的发展演变阶段。这一章还剖析了具有代表性的红色文学作品和作家,探讨了这些文学作品的写作特点,描写手法和思想内容。第三章:对中泰红色文学之异同进行平行研究,主要对比分析了中泰红色文学产生的时代背景,作者的不同人生经历。本章还对中泰红色文学作品的内容特色与人物形象进行了比较分析,探讨了中泰红色文学作品中的爱情意识形态,分析了两国红色文学作品在革命与爱情的关系上的描写特点和表现手法。th
dc.description.abstract“วรรณกรรมสีแดง”[1] เป็นวรรณกรรมที่พรรณนาเหตุการณ์ หรือเรื่องราวการต่อสู้เพื่ออิสรภาพของประชาชน ที่เกิดขึ้นในช่วงสถานการณ์ปฏิวัติ เป็นเนื้อหาหลักในการสร้างสรรค์ผลงาน และรังสรรค์ตัวละครที่มีเอกลักษณ์ของแนวรบแต่ละด้าน การเสนอมุมมองเช่นนี้ มิใช่เฉพาะในประเทศจีนหรือประเทศไทยเท่านั้น ในยุคต้นของสหภาพโซเวียต ก็ได้มีการเสนอผลงานทางด้านนี้ออกมาแล้วไม่น้อย เช่นเรื่อง “แม่” ของแมกซิม กอร์กี (Maxim Gorky) เรื่อง “เบ้าหลอมวีรชน” ของ นิโคไล ออสต๊อฟสกี้ (Nikolai Ostrovsky) วรรณกรรมเหล่านี้ ล้วนส่งผลสะเทือนต่อการสร้างสรรค์วรรณกรรมสีแดง ในประเทศจีนและไทยอย่างใหญ่หลวง วรรณกรรมสีแดงของจีน หมายถึง วรรณกรรมที่เกิดขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1950-1960 เป็นส่วนใหญ่ เป็นวรรณกรรมที่สร้างสรรค์ขึ้นโดยอาศัยความคิดชี้นำของทฤษฎีลัทธิมาร์กซ์เลนิน และความคิดเหมาเจ๋อตง เป็นวรรณกรรมที่สะท้อนภาพพัฒนาการของขบวนการปฏิวัติ ภาพการต่อสู้ที่ดุเดือดรุนแรง ความเหี้ยมโหดทารุนของภัยสงคราม และความวีระอาจหาญของเหล่าวีรชนชาวพรรคคอมมิวนิสต์ ภายใต้สถานการณ์การปกครองของอำนาจรัฐแดง โดยเหล่าบรรดานักเขียนที่ผ่านการอบรมบ่มเพาะ จากพรรคคอมมิวนิสต์จีน และตั้งอยู่บนพื้นฐานของผู้อ่านอันกว้างใหญ่ไพศาล วรรณกรรมสีแดงของไทย ก่อกำเกิดขึ้นท่ามกลางอำนาจรัฐเผด็จการสีขาว ในช่วงปี ค.ศ. 1950-1970 เป็นวรรณกรรมที่สะท้อนความไม่พอใจต่อสภาพสังคมที่ไม่เป็นธรรมของประชาชนในยุคนั้นและเรื่องราวการต่อสู้ ของชนชั้นล่างผู้ถูกกดขี่ เพื่อปลุกจิตสำนึกเรียกร้องให้คนในสังคมลุกขึ้นมาทวงสิทธิอันพึงมีพึงได้ และต่อสู้เพื่อชีวิตที่ดีกว่า จึงถูกกีดกันและปิดกั้นจากอำนาจรัฐมาทุกยุคสมัย นอกจากถูกจำกัดอยู่ในหมู่ผู้อ่านเพียงวงแคบแล้ว ก็ไม่สามารถเผยแพร่สู่วงกว้างการศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมสีแดงจีน-ไทย ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการเริ่มต้นศึกษาค้นคว้า เพื่อให้เห็นถึงความเหมือนและความแตกต่าง ของวรรณกรรมสีแดงจีน-ไทย อันเกิดจากพื้นภูมิทางสังคม การเมือง วัฒนธรรมของชนชาติ ศาสนาและความเชื่อ และประเพณีนิยมของทั้งสองประเทศ โดยอาศัยผลงานของนักเขียนที่มีเอกลักษณ์ และเป็นแบบฉบับของทั้งสองประเทศ เพื่อแสดงให้เห็นถึงคุณค่าและผลกระทบที่มีต่อสังคมและแวดวงวรรณกรรมผ่านการศึกษาและเปรียบเทียบ เส้นทางการพัฒนาของวรรณกรรมสีแดงจีนไทย เราจะเห็นได้ว่าวรรณกรรมของทั้งสองประเทศ ถึงแม้จะมีพื้นฐานทางสังคมที่แตกต่างกัน แต่ก็มีจุดประสงค์ร่วมกัน คือ วรรณกรรมสีแดง เป็นวรรณกรรมที่สะท้อนเรื่องราวการต่อสู้ ของชนชั้นล่างผู้ถูกกดขี่ เป็นผลงานที่สร้างสรรค์ขึ้นจากจิตใจที่ รักชาติ รักประชาธิปไตย และรักความเป็นธรรมของเหล่า นักประพันธ์ที่ได้อาศัยแนวรบด้านวรรณกรรม ส่งเสียงเรียกร้อง ปลุกเร้าจิตสำนึกแห่งการต่อสู้ของผู้ที่ถูกกดขี่ ให้ลุกขึ้นถาโถมเข้าแบกรับภารกิจ ที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ร่วมกันบทวิทยานิพนธ์นี้ใช้วิธีศึกษาแบบวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และการศึกษาผลรวม เพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณะพิเศษของเนื้อหา แนวความคิด ที่ส่งผลกระทบต่อสังคมและบุคคล ภายใต้พื้นภูมิที่แตกต่างของสังคม ยุคสมัย ศาสนาความเชื่อ และวัฒนธรรมชนชาติ โดยแบ่งออกเป็น 3 บทดังนี้บทที่ 1 วิเคราะห์เบื้องหลังการก่อเกิด และพัฒนาการของวรรณกรรมสีแดง ในประเทศจีน โดยอาศัยผลงานที่มีลักษณะเด่น และเป็นแบบฉบับของนักเขียนคนสำคัญ ๆ แต่ละท่านบทที่ 2 ศึกษารายละเอียด การก่อเกิด และพัฒนาการของวรรณกรรมสีแดงในไทย ชี้ให้เห็นถึงลักษณะพิเศษของเนื้อหา แนวทางความคิด ตลอดจนเทคนิค และวิธีการสร้างสรรค์ของนักประพันธ์ โดยอาศัยความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ทางการเมือง โดยแบ่งออกเป็น 4 ระยะที่สำคัญบทที่ 3 เป็นการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง ของวรรณกรรมสีแดงจีน-ไทย เช่นสภาพของสังคมและการเมือง ภูมิหลังของนักประพันธ์ ลักษณะพิเศษของตัวละคร ทัศนะต่อความรักในขบวนปฏิวัติ ตลอดจนเทคนิคและลีลาในการประพันธ์th
dc.description.abstract"Proletariat Literature” is a term given to the literature that depicts the story about the struggle of working class people termed the proletariat against the ruling classes during times of uprising & revolution. There is an outpouring of creative works to describe the unique character of each battle and ideology adopted. This perspective of presentation was not only be seen in China or Thailand but it has widely been published in earlier Russian writings e.g. titles; The “Mother” written by Maxim Gorky, and “How The Steel Was Tempered” of Nikolai Ostrovsky. These poetries are greatly impacted to the creation of Chinese and Thai “Proletariat Literature” later on.“Chinese Proletariat Literature” refers to literature that occurred principally in the period of 1950’s to1960’s. In general literary creations heavily influenced by under the main ideological thinking of Karl Marx, Lenin and Mao Tse Tung under the prevailing circumstances termed. Chinese “Proletariate Literature” is writing that reflects the development of the revolutionary movement in each period of transition the intense battle, violence, the cruelty of war, the courage of the victorious hero’s of the Communist Party.Thai “Proletariat Literature” which was born among the white tyrant state power during the year 1950’s to 1970’s reflected to the disgruntled feeling and the stories of fighting of the Thai working class “proletariat” who were tyrannized by the supreme state power. It aroused the people in the society to call for their rights and to fight for their better lives. Hence it was banned and walled by the state power at all time. It was read by narrowly readers and could not be blazed to the publicThis thesis is a comparative study based on research of Chinese-Thai “Proletariat Literature”. It examines the similarities and differences that arise from comparing the prevailing social systems, cultures of the nations, religion and faith based on the works of authors in the two countries during this period. This leads to illustrate the value and impact of these works on the literary circles of society in both countries. Through both study and comparison of the development path of Chinese-Thai “Proletariat Literature”, we can see that even though the literature of both countries is based on clear social differences, but has a common purpose to reflect the story of the struggle of the oppressed lower class to the ruling class. Characterized & created in a spirit and love of democracy, patriotism and fairness. The authors used their work as a tool to call out to the people to stand up and bare for the great historic mission together. This thesis uses study analyzes the identification methods and the summarized synthesis. Emphasizes the effect of the works as example the impact of the ideas promulgated in the respective societies under their different backgrounds of historical, social, cultural and nation. This is divided into three chapters as follows: Chapter 1 Analysis behind the formation and development of “Proletariat Literature” in China based on the features of specific works typical of each writer. Chapter 2 Detailed study of the formation and development of “Proletariat Literature” in Thailand pointing to the specific outstanding contents, special techniques of presentation using the changes of political circumstances and the creative way of thinking of each author divided into four important periods. Chapter 3 Comparison of the similarities and the differences of the compositions such as the background of the authors, specialties of the characters, opinions on commitment to the revolution, as well as commentary on the overall techniques and style in the literature.th
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectวรรณกรรมการเมือง -- ไทยth
dc.subjectPolitics and literature -- Thailandth
dc.subjectวรรณกรรมการเมือง -- จีนth
dc.subjectPolitics and literature -- Chinath
dc.subjectวรรณคดีเปรียบเทียบth
dc.subjectComparative literatureth
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth
dc.subjectContent analysis (Communication)th
dc.subjectการต่อสู้ทางการเมืองth
dc.subject政治文学 -- 泰国-
dc.subject政治文学 -- 中国-
dc.subject比较文学-
dc.subject内容分析-
dc.subject政治斗争-
dc.title中泰红色文学比较研究th
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมสีแดงไทย-จีนth
dc.title.alternativeA Comparative Study of Chinese - Thai Proletariat Literatureth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineวรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัยth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
table of content.pdf496.42 kBAdobe PDFView/Open
chapter1.pdf869.35 kBAdobe PDFView/Open
chapter2.pdf
  Restricted Access
1.78 MBAdobe PDFView/Open Request a copy
chapter3.pdf
  Restricted Access
1.18 MBAdobe PDFView/Open Request a copy
Reference.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.