Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/582
Title: 中国文学泰译八十年
Other Titles: การศึกษา 80 ปี ของประวัติการแปลวรรณคดีจีนเป็นภาษาไทย
A Study of the 80-Year History of Thai Translation of Chinese Literature
Authors: 倪金华
Ni, Jinhua
หนี, จินฮว๋า
李学志
หลี, เสวียจื้อ
Li, Xuezhi
Keywords: วรรณกรรมจีน -- การแปลเป็นภาษาไทย
Chinese literature -- Translations into Thai
นวนิยายจีนกำลังภายใน -- การแปลเป็นภาษาไทย
Martial arts fiction, Chinese -- Translations into Thai
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
中国文学 -- 泰语翻译
武侠小说 -- 泰语翻译
内容分析
Issue Date: 2011
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 中泰是关系密切的友好邻邦。两国人民的友谊源远流长。这种友好关系,促进了中华文化和中国文学在泰国的流传。 中国文学泰译活动最早发生在曼谷王朝一世王时期。这是《三国演义》和《西汉演义》先被翻译成泰文,引发了翻译中国古典小说的热潮。到20世纪20年代末,这种热潮便进入了衰退期。但对泰国的语言、文化、文学、思想、建筑、道德等方面,都产生了机器深远的影响。二战后,毛泽东的著作,鲁迅、老舍、矛盾、曹禺等的现实主义文学作品开始的到大量的翻译。因而引发了一股翻译现实主义文学作品的热潮。并对泰国人民的思想、语言、文学产生了一定的影响。由于武侠小说有较高的审美、娱乐价值,能满足大众对娱乐、休闲的要求,所以字20世纪60、70年代以来,泰国开始大量引进中国的武侠小说,泰国又掀起了“武侠小说”的翻译热潮。本文主要从中国古典文学泰译衰退期、中国现实主义文学泰译期中国现实主义文学泰译期和中国武侠小说泰译期单个阶段对中国文学泰译活动及原因影响进行研究。对中国文学泰译的研究,不仅有益于深入了解泰国读者的阅读和需求特点,而且对研究两国间的文化交流和友好往来也有重要意义。
ประเทศจีนและประเทศไทยเป็นเพื่อนบ้านที่มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด สัมพันธภาพของประชาชนทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์กันมาเป็นเวลานานสัมพันธภาพเช่นนี้ทำให้เกิดการแพร่หลายทางวัฒนธรรมและวรรณกรรมจีนในประเทศไทยการแปลวรรณกรรมจีน ได้เริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 1 ในยุคสมัยนี้ “สามก๊ก” “ไซ่ฮั่น” ได้ถูกแปลเป็นภาษาไทยทำให้เกิดความนิยมแปลนวนิยายจีนโบราณตั้งแต่นั้นเป็นตนมา ทว่าตั้งแต่สิ้นปลายปีที่ 20 ของศตวรรษที่ 20 เป็นต้น มาการแปลนวนิยายจีนโบราณเริ่มลดลง สรุปได้ว่าการแปลนวนิยายจีนโบราณมีอิทธิพลต่อประเทศไทยเป็นอย่างยิ่งในด้านต่าง ๆ เช่น ภาษา วัฒนธรรม วรรณกรรม ความคิด สถาปัตยกรรม ศีลธรรม เป็นต้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เริ่มมีการแปลผลงานที่นำเสนอความคิดสัจนิยมของนักเขียนจีนกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย เช่น เหมาเจ๋อตุง หลู่ซิ่น เหลาเส่อ เหมาตุ้น เฉาอวี่ เป็นต้น ทำให้เกิดการนิยมแปลวรรณกรรมสัจนิยมตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา มีอิทธิพลต่อความคิด ภาษา วรรณกรรมของ คนไทยอย่างลึกซึ้งเนื่องจากนวนิยายกำลังภายใน สามารถตอบสนองความต้องการของคนส่วนใหญ่ในด้านความบันเทิงและในแง่ของการผ่อนคลาย นอกจากนวนิยายกำลังภายในของจีนจะมีความงามทางวรรณกรรมสูงแล้ว ยังมีคุณค่าด้านความบันเทิงอีกด้วย ดังนั้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 20 ในช่วง 60-70 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยเริ่มมีนวนิยายเข้ามาเป็นจำนวนมาก การแปลนวนิยายกำลังภายในจึงได้รับความนิยมในประเทศไทยในเวลาต่อมาวิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์การแปลวรรณกรรมจีนด้วยสำนวนภาษาไทยในสามยุค ได้แก่ ยุคการแปลนวนิยายจีนโบราณ ยุคการแปลนวนิยายจีนสัจนิยมและยุคการแปลนวนิยายจีนกำลังภายใน วิทยานิพนธ์เล่มนี้ยังศึกษาเหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดความนิยมและอิทธิพลในการแปลวรรณกรรมจีนที่มีต่อประเทศไทย สำหรับการวิจัยประวัติศาสตร์ของวรรณกรรมจีนที่แปลเป็นภาษาไทย ไม่เพียงให้ประโยชน์ในแง่ของความเข้าใจในความต้องการของผู้อ่านทั้งไทยและจีนอย่างลึกซึ้ง ยังมีความหมายสำคัญในแง่ของการศึกษาวิจัยด้านการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและสัมพันธภาพของสองประเทศอีกด้วย
China and Thailand have been friendly neighboring countries that have a long history of friendly association. And the people of two countries also have been keeping good friendship for a long time. This friendly relationship brought in Chinese culture and translation of Chinese literature into Thai.Firstly, the first translation activities of Chinese literature appeared King Rama I Jakri Dynasty. The first two literatures which were translated into Thai are ‘Romance of Three Kingdoms’ and ‘The stories of Xi Han Dynasty’. The Thai version of ‘Romance of Three Kingdoms’ led to a translating upsurge of Chinese classical literature. However the translating upsurge of Chinese classical literature enters the recession period. Finally, Thai version of ‘Romance of Three Kingdoms’ and ‘The stories of Xi Han dynasty’ had deeply influenced Thai language, Thai culture, literature, mentality, architecture, morality and so on .After World War II, a lot of Chinese realistic literatures were translated into Thai. For example, the works of Mao Zedong, Lu Xun, Lao She, Mao Dun and Cao Yu and so on. It also made translation upsurge of Chinese realistic literature in this period. And the translations of Chinese realistic literature also had influence on Thai language, mentality and literature and so on.Because of the aesthetics entertainment values of the Martial Art Novels, it can meet the needs of people on leisure and entertainment. So since during 1960-1970 in the 20 century, Thailand kept introducing a lot of Chinese Martial Arts Novels from China, which led to translation upsurge of Chinese Martial Arts Novels.This thesis will talk about deeply studies of translation activities of Chinese literatures in Thai from three translation periods, which are translation recession of Chinese classical literatures. the translation of Chinese realistic literatures and the translation of Chinese Martial Arts Novel. Then further studies reasons that led to the three translating upsurge, and the influences of Thai versions on all aspects in Thailand. Studying the history of Chinese literature translation in Thai language is not only benefit to the research of the characteristics of reading and demand of Thai people, but also it is significant to the research of cultural communication and friendly association between China and Thai.
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/582
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf575.8 kBAdobe PDFView/Open
Table of comtents.pdf406.59 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf474.1 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf498.41 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf456.85 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf531.64 kBAdobe PDFView/Open
References.pdf652.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.