Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/596
Title: 航鹰短篇小说《明姑娘》与泰文译本的比较研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องสั้นของหังอิง เรื่อง “หมิงกูเหนียง” กับฉบับแปลภาษาไทย
A Comparative Study of Hangying's Short Story "Ming guniang" and Its Thai Translation
Authors: 徐华
Xu, Hua
王白灵
สาธิตา ปรีชาศิลป์
Keywords: หังอิง
Hangying
วรรณคดีเปรียบเทียบ
Comparative literature
เรื่องสั้นจีน
Chinese fiction
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
比较文学
中国短篇小说
内容分析
Issue Date: 2013
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ประเทศไทยและจีนเป็นมิตรประเทศมายาวนานตั้งแต่โบราณกาล ทั้งสองประเทศได้แลกเปลี่ยนความสัมพันธ์อันดีกันมาโดยตลอด ปัจจุบันการเรียนการสอนภาษาจีนกำลังเป็นที่นิยมการแปลวรรณกรรมจีนเป็นภาษาไทยจึงเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย แต่เนื่องด้วยประสบการณ์ส่วนตัวของผู้แปล ความรู้ทางด้านวัฒนธรรม มุมมองวิสัยทัศน์ และความเข้าใจในภาษาต้นฉบับ ต่างมีผลกระทบต่อการใช้ภาษา รวมถึงคุณภาพของงานแปล วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบเรื่องสั้นภาษาจีนของหังอิง เรื่องหมิงกูเหนียง กับฉบับแปลภาษาไทยทั้งสองฉบับ วิเคราะห์ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของงานประพันธ์เดิมกับฉบับแปลภาษาไทยสองฉบับ จากการศึกษาพบว่า สุชาติ ภูมิบริรักษ์ ใช้วิธีการแปลแบบตรงตัว ตามต้นฉบับ คำศัพท์ที่ใช้แปลใกล้เคียงกับต้นฉบับ แต่ทำให้รู้สึกไม่เป็นธรรมชาติขาดความยืดหยุ่น ในขณะที่ ล.สังขรักษ์ ใช้วิธีการแปลถ่ายทอดความหาย เลือกใช้ศัพท์โดยคำนึงความหมายของต้นฉบับ ใช้ศัพท์ที่นิยมใช้ทั่วไป ทั้งยังเพิ่มความเข้าใจของผู้แปลลงในงานแปลทำให้รู้สึกถึงความยืดหยุ่น นอกจากนั้น ฉบับแปลทั้งสองฉบับยังใช้วิธีการอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม และใช้วิธีการแปลทับศัพท์ภาษาอังกฤษ หากยึดตามหลักการแปลทั้งสามประการ ได้แก่ ความซื่อสัตย์ในการแปล (信) การเข้าถึงบทความต้นฉบับ (达) และการเลือกใช้คำอย่างสละสลวย (雅)ฉบับแปลไทยทั้งสองฉบับต่างก็เข้าถึงหลักการแปลทั้งสองข้อแรก คือ "信" และ "达" ส่วน "雅" นั้นเป็นหลักการแปลที่งานแปลส่วนใหญ่ยากที่จะแปลให้ครอบคลุมทั่วถึง อาจกล่าวได้ว่า การรวมหลักฐานการแปลทั้งสามประการไว้ในผลงานแปลชิ้นหนึ่งนั้นเป็นเรื่องยาก ผลงานแปลทั่วไปจึงเน้นหลัก "信" และ "达" ก่อนตามลำดับ สุดท้ายจึงคำนึงถึงหลัก "雅"
Thailand and China are being good neighbor and having long-term friendly relationship. Now studying Chinese become more popular in the worldwide, also Thailand. Chinese literatures translated into Thai are also increasing. The translator's own experience, cultural knowledge, field of vision and understanding of the original version can affect to the translation language. This thesis is focused on a comparative study of Hangying's novel, Ming Guniang, and its two Thai translations. The study shows that the literal translation method is used in Suchat Phumboriruk's translation to provide accurate translation to the original text. This translation may causes reders to feel unsmooth and inflexible. Meanwhile, Loh Sangkalul applied free translation method to his translation. The usages of wording are accordin to the understanding of the original text. Moreover, the annotation and English transliterated word were also used into two Thai translations. "Faithfulness", "Expressiveness" and "Elegance" are the basic principles in translation. Obviously, "Faithfulness" is the most important one among the three. Most of the time the translators have difficulty in adopting all these three principles in one work. The study showed that the two translations have reached only the first two principles, "Faithfulness" and "Expressiveness", but lack of "Elegance"
中泰两国是近邻友邦。自古两国之间就有着密切的友好交流关系。现在汉语在全世界范围内掀起学习的热潮,泰两国之间文化的交流也越来越深入。所以,翻译成 泰文的中国文学也越来越多。但由于译者自身经历、文化知识、视野范围、对原著的理解等等原因,都会影响到翻译语言的使用及译作的水平质量。 本文就把中国女作家航鹰的《明姑娘 》中文原本与 两种泰译本进行比较,分析两种泰译本与原著的异同。通过作者的分析比较,苏查德•普密比拉(สุชาติ ภูมิบริรักษ์)的译本多采用直译的手法翻译,翻译比较忠实原著,翻译的词语选择也比较贴近原著,但会给人一种比较呆板的感觉,缺乏灵活性。而罗• 桑卡拉(ล. สังขรักษ์)泰译本多采用意义的翻译手法,用词多根据原著的意思而定, 用词也比较大众化,而且翻译中加入了译者对作品的理解,这种 翻译手法给人一种灵活的感觉。两个译本在翻译过程中都运用了注释的方法, 而且些词语还运用英文来翻译。 笔者认为,在按照翻译的原则 “信”、“达”、“雅”,来讲,两种译本都达到了“信”、“达”,“雅”是翻译作品都很难兼顾的。一部翻译作品想同时达到“信”、“达”、“雅”三原则 ,可谓是难上加难。一般翻译作品都先注重 “信”,然后求“达”,最后才 求 “雅” 。《明姑娘》这部短篇小说的两种泰译本,可以说在“信”和“达”方面都做到了,但在 “雅” 方面两者还欠缺一些。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/596
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SATHITA-PREECHASILP.pdf
  Restricted Access
8.77 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.