Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิดา โมสิกรัตน์-
dc.contributor.advisorThida Mosikarat-
dc.contributor.authorLi, Keyao-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts-
dc.date.accessioned2022-08-20T12:41:42Z-
dc.date.available2022-08-20T12:41:42Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/625-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561th
dc.description.abstractวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของผู้สื่อข่าวชาวจีนในสังคมไทย โดยใช้วิธีการวิจัยภาคสนาม ใช้เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้สื่อข่าวชาวจีน โดยสุ่มแบบง่ายจำนวน 49 คน และนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัย พบว่า การมีวิถีชีวิตของนักข่าวชาวจีนมาจากเหตุผลเลือกทำงานในสังคมไทยเพราะมีพื้นฐานการศึกษาและประสบการณ์เกี่ยวข้องกับอาชีพว่า มีทัศนคติที่ดีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย มีที่อยู่อาศัยเป็นห้องเช่า อพาร์ทเม้นท์ และบ้านส่วนตัวที่สะดวกและปลอดภัยเดินทางโดยใช้รถสาธารณะและรถส่วนตัว เพื่อประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ได้ร่วมกิจกรรมกับทั้งคนไทยและคนจีน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและรักษาสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติจีน ในการทำงาน นักข่าวชาวจีนได้รับอิทธิพลจากสังคมและวัฒนธรรมไทย จึงสามารถปรับตัวในการดำเนินชีวิตและการทำงานในสังคมไทย โดยนำเสนอข่าวสารบ้านเมืองของประเทศไทยที่เป็นประโยชน์ต่อชาวจีนที่อยู่ในประเทศไทย และชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศจีน ให้ได้รับรู้ข่าวสารบ้านเมืองของประเทศไทย ตามบทบาทหน้าที่ของการเป็นผู้สื่อข่าวที่ดีในต่างประเทศ ด้านบทบาทหน้าที่ของการเป็นผู้สื่อข่าวที่ดีในต่างประเทศต่อสังคมไทย นักข่าวชาวจีนมีบทบาทในฐานะเป็นนักสื่อสารมวลชนรวมถึงการประสานความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน สร้างความเข้าใจด้านการเมืองระหว่างประเทศ และเศรษฐกิจเพื่อการลงทุน มีบทบาทในการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวการเผยแพร่แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและการพัฒนาการศึกษาth
dc.description.abstractThe research studied the way of life of Chinese journalists in Thai society by the field research methods. The questionnaire and interview were used to collect data from the simplified sampling group of 49 journalist. Research findings were reported in a descriptive analysis form. The research found that Chinese journalists had chosen the carrier because of their education or experiences relating to jouranlism. They had good attitude toward Thai culture and society. Their carrier provided them a safe and convenient residence, for example a rental, an apartment or a house. They went to work by using public transportation or their own cars and joined both Thai and Chinese activities in order to create good relationship and conserve the Chinese culture, especially the major festivals in China. By adopting Thai culture, the Chinese journalists could well adjust their ways of living and working in Thai society. The Chinese journalists' work presented the news of Thailand and other interesting issues for the Chinese who lived in Thailand and China. Moreover, the Chinese journalists also took their own responsibilities no matter in the field of work or life. The overseas Chinese journalists play an such crucial role and take more responsibilites in Thai society. They convey the relations between two countries, meanwhile, they take the responsibilites to bilaterally establish the cognition of the political and economic investment. Moreover, the Chinese journalists also have obligation to spread tourist culture, promote the communications of culture and academic study between Thailand and China.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectนักข่าว -- ไทย -- กรุงเทพฯth
dc.subjectชาวจีน -- ไทย -- กรุงเทพฯth
dc.subjectการดำเนินชีวิตth
dc.subjectConduct of lifeth
dc.subjectวัฒนธรรมไทยth
dc.subjectChinese -- Thailand -- Bangkokth
dc.subjectไทย -- ภาวะสังคมth
dc.subject中国人-- 泰国 -- 曼谷-
dc.titleการดำรงชีวิตของนักข่าวชาวจีนในสังคมไทย : กรณีศึกษานักข่าวชาวจีนในกรุงเทพมหานครth
dc.title.alternativeWays of Living of Chinese Journalists in Thai Society : A Case Study of Chinese Journalists in Bangkokth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สองth
Appears in Collections:Liberal Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
LI-KEYAO.pdf
  Restricted Access
6.29 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.