Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/676
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 范君 | - |
dc.contributor.advisor | Fan, Jun | - |
dc.contributor.author | 庄碧珊 | - |
dc.contributor.author | สุวรรณา แซ่จึง | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-04T12:42:54Z | - |
dc.date.available | 2022-09-04T12:42:54Z | - |
dc.date.issued | 2013 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/676 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013 | th |
dc.description.abstract | แปดเทพอสูรมังกรฟ้า เป็นหนึ่งในนวนิยายกำลังภายในที่มีชื่อเสียงที่สุดของกิมย้ง และเป็นผลงานสุดยอดที่แสดงถึงแนวคิดทางพุทธศาสนาของกิมย้ง อีกทั้งเป็นผลงานกำลังภายในที่ได้รับความนิยมและเป็นที่ติดปากกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ วิทยานิพนธ์นี้ ใช้วิธีการศึกษาวิเคราะห์เนื้อหานวนิยายผนวกกับปรัชญาศาสนาและวัฒนธรรมพื้นบ้าน วิเคราะห์เชิงลึกเบื้องหลังการเขียน แนวคิดหลัก และภาพลักษณ์ตัวละครในนิยายกำลังภายในเรื่องแปดเทพอสูรมังกรฟ้า ตลอดจนลัทธิหรือนิกายทางพุทธศาสนาจากนิยายเรื่องนี้ รวมถึงศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรมเชิงความคิดทางพุทธศาสนาที่มีต่อนัยสาระหลัก การดำเนินเรื่องและภาพลักษณ์ตัวละครในเรื่องแปดเทพอสูรมังกรฟ้า แปดเทพอสูรมังกรฟ้าเกี่ยวข้องกับพุทธนิกาย 3 นิกาย คือ นิกายฮั่น นิกายธิเบต และนิกาย ฝ่ายใต้ ครอบคลุมถึงสาระทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมที่ซับซ้อนและหลากหลายของพุทธนิกายฮั่นซึ่งมีวัดเส้าหลิน เป็นตัวแทน นิกายฝ่ายใต้ที่แคว้นต้าหลี่และพุทธนิกายธิเบตที่เมืองทุรฟาน ประการแพร วิเคราะห์อย่างเป็นระบบถึงนิยายแปดเทพอสูรมังกรฟ้า แสดงถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านและความเชื่อทางศาสนาในสามนิกาย และวัฒนธรรมพุทธศาสนาที่มีบทบาทต่อการเดินเรื่องในนิกายเรื่องนี้ ประการที่สอง ทำการศึกษาและพิเคราะห์ในระดับค่อนข้างลึกโดยอาศัยกฎแห่งกรรม ภายใต้จริยธรรมหลักเมตตาธรรมให้อภัย และการหลอมรวมแนวคิดลัทธิหยูและพระพุทธศาสนาสามด้าน ซึ่งเป็นแนวคิดหลักและความสัมพันธ์เชิงความคิดทางพุทธในนิยายของกิมย้ง วิทยานิพนธ์ยังเน้นการวิเคราะห์การสร้างภาพลักษณ์ตัวละคร 3 กลุ่ม ซึ่งทำให้เห็นถึงศิลปะและเทคนิคในเขียนบรรยายตัวละครได้อย่างลึกซึ้งและลุ่มลึกของกิมย้ง เช่น เซียวเฟิง หลวงจีนเฒ่าเส่าตี้ เป็นต้น อันเป็นภาพลักษณ์แบบฉบับที่ที่ผู้คนชื่นชอบ ตัวละครสำคัญที่สุดในเรื่อง เซียวเฟิง ซึ่งมีจิตวิญญาณแห่งจอมยุทธ์ผดุงคุณธรรมและการกลายร่างกำเหนิดของผู้ช่วยโลกที่องอาจ ซวีจู๋ เยี่ยเอ้อร์เหนียง เสวียนเปย ตัวละครทั้งสามล้วนถ่ายทอดให้เห็นถึงเหตุและผลแห่งกรรม และทัศนความคิดในด้านข้อห้ามทางพุทธศาสนา ส่วนจิงหมอจื้อ และหลวงจีนเฒ่าเส่าดี้ เป็นแบบฉบับของพระมีชื่อและชั้นสูงที่กิมย้งเขียนขึ้น หลวงจีนเฒ่าเส่าดี้ เป็นหลวงจีนพุทธศาสนาที่ดีเยี่ยมภายในปากกาของกิมย้ง แปดเทพอสูรมังกรฟ้า เป็นผลงานหลังจากที่กิมย้งถวายตัวเป็นศิษย์คตาคถของพุทธศาสนาแล้ว ด้วยเหตุนี้ หัวข้อและแนวคิดหลัก การสร้างตัวละครและลักษณะเด่นในลีลาการเขียน ล้วนได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมความคิดเชิงพุทธศาสนาทั้งสิ้น | th |
dc.description.abstract | "Demi-Gods and Semi-Devils" is one of the most famous wuxia novels (Chinese martial art stories) written by Jinong (Kimyong in Thai). Not only does it epitomize the pinnacle of Jinyong's Buddhistic ideology but it also is univeraslly readable, both domestically and internationally. The thesis methodologically analyses the author's work by syncretizing the folk culture and philosophy of religion. It analytically pursues Demi-Gods and Semi-Devils' author - Jinyong's creativity background, ideological theme, its characterization and the novel's involvement of various cultural isms of Buddhism. The dissertation also investigates Buddhist ideology through 'Demi-Gods and Semi-Devils' theme, plot and its characterization. Demi-Gods and Semi-Devils involves the three isms of Chinese Buddhism, i.e. Hanism, Tibetan ism and Southern ism; it connotes the Han ism which is the representative of the Shaolin Monastery, Dali's Southern ism and Tufan's Tibetanism. Firstly, the thesis systemtically analyses Demi-Gods and Semi-Devils's folklore, the belief of the three isms and its Buddhistic culture through its circumstantial process. Secondly, it profoundly studies the three aspects of an outlook on life, i.e. the poetic justice, the moral concept (both compassion and tolerance) and the three isms of Buddhism of Jinyong's ideological theme and Buddhistic ideology. The dissertation also investigates the charactertistics of the three groups of people in a deep going way which reflect Jinyong's profound depiction of the characterization, e.g. Xiaofeng; Saodi the Old Monk which are favored vy the audiences. The most famous characters in the story are Xiaofeng who possesses chivalry and utterly fearless spirit to save the world; the trio; Xuzhu, YeErniang and Xuanbai who represent cause and effect, karma and attitude in Buddhistic taboo; JiuMozho and Saodi the Old Monk who embody the famed highest-ranking monk from Jingyong's pen. The Demi-Gods and Semi-Devils was written after Jinyong had turned to Buddhism, thus the theme and characterization of his work are completely influenced by Buddhistic ideology. | th |
dc.description.abstract | 《天龙八部》它是金庸最著名的武俠小说之一,也是体现金庸佛教思想的巔峰之作,是一部享誉海内外脍炙人口的武俠作品。 本论文通过作家作品分析的方法结合民俗文化与哲学宗教的研究方法,具体分析了《天龙八部》作者金庸写作此书的创作背景、小说主题思想、人物形象以及小说所涉及的佛教各大支派文化民俗,分析论述了佛教思想文化对《天龙八部》的主题内涵、故事情节和人物形象等方面的具体影响。 《天龙八部》涉及中国佛教汉传、藏传、南传三大支派,,涵盖了少林寺为代表的汉传佛教、大理国与南传佛教以及吐蕃与藏传佛教等丰富复杂的历史文化内容。 论文首先系统分析了小说《天龙八部》是如何表现佛教三大支派的宗教信仰和民俗文化的,以及这些佛教文化在小说情节发展过程中起到的作用。 论文第二部分,在因果报应、慈悲宽容的伦理观和儒佛合一的人生观三个方面,就金庸的小说中的主题思想与佛教思想关系进行了较深入的研究与探讨。 论文还重点分析了小说中三组人物形象的塑造,金庸小说艺术形象的描写技巧深湛,思想深邃,萧峰、扫地老僧等形象不亏是金庸作品中的为人称道的经典形象。小说中最重要的核心人物——萧峰是侠义精神和佛教大无畏救世精神的化身;虚竹、叶二娘、玄悲这三个人物则体现了佛教因果报应以及佛教戒律方面的思想观念;鸠摩智、扫地老僧则是金庸精心塑造的名僧与高僧的典型,扫地老僧是金庸笔下最高妙的佛教僧侣形象。 《天龙八部》是金庸皈依佛教之后的作品,因而作品的题材、主题思想、人物塑造和风格特色都浸透了佛教思想文化的影响。 | - |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | นวนิยายจีน | th |
dc.subject | Fictions, Chinese | th |
dc.subject | 中国小说 | th |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | th |
dc.subject | Content analysis (Communication) | th |
dc.subject | 内容分析 | th |
dc.subject | วรรณกรรมพุทธศาสนา -- จีน | th |
dc.subject | Buddhist literature -- China | th |
dc.subject | 佛教文学 | th |
dc.subject | 金庸 | th |
dc.subject | กิมย้ง | th |
dc.subject | 萧峰 | th |
dc.title | 《天龙八部》佛教文化研究 | th |
dc.title.alternative | การศึกษาวัฒนธรรมพุทธศาสนาใน “แปดเทพอสูรมังกรฟ้า” | th |
dc.title.alternative | A Study of Buddhist Culture in "Demi-Gods and Demi-Devils | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SUWANNA-SAEJUENG.pdf Restricted Access | 1.16 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.