Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/685
Title: | 鲁迅的《祝福》与查・勾吉迪的《判决》比较研究 |
Other Titles: | การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องสั้นของหลู่ซวิ่นเรื่อง "อวยพร" และนวนิยายของชาติ กอบจิตติ เรื่อง "คำพิพากษา" A Comparative Study of Luxun's Short Story "Blessing" and Chart Korbjitti's Novel "The Judgment" |
Authors: | 倪金华 Ni, Jinhua 陈亮靓 รังสิยา วุฒิไพบูลย์ |
Keywords: | การวิเคราะห์เนื้อหา Content analysis (Communication) วรรณคดีเปรียบเทียบ Comparative literature หลู่ซวิ่น Luxun ชาติ กอบจิตติ Chart Korbjitti 内容分析 比较文学 鲁迅的 |
Issue Date: | 2014 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | หลู่ซวิ่นและชาติ กอบจิตติ เป็นนักเขียนวรรณกรรมสมัยใหม่และร่วมสมัยที่ยิ่งใหญ่ และมีชื่อเสียงของจีนและของไทย ผลงานของนักเขียนทั้งสองเป็นงานเขียนแนวสัจนิยม มุ่งสะท้อนความเสื่อมทรามและไม่เท่าเทียมกันในสังคม "อวยพร" เป็นหนึ่งในผลงานประพันธ์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของหลู่ซวิ่น ผลงานเรื่องนี้ถูกรวมเล่มอยู่ในหนังสือชุมนุมนวนิยายลำดับที่สองของหลู่ซวิ่น ที่มีชื่อว่า "ลังเล" เสียงหลินส่าว ตัวละครหลักของเรื่อง เป็นตัวแแทนของกลุ่มคนถูกบีบคั้นจากกฎเกณฎ์ และความเชื่องมงายของระบบศักดินา โศกนาฏกรรม ของเสียงหลินส่าว ได้สะท้อนแนวคิดคร่ำครึของระบบศักดินาจีนที่กดขี่ชนชั้นล่าง ถึงแม้ว่าระบอบจักรพรรดิในจีนจะถูกโค่นล้มลงแล้ว แต่ชนชั้นขุนนางและแนวคิดในระบอบศักดินา กลับมีอิทธิพลมากต่อความคิดและวิถีชีวิตของประชาชน โดยหลู่ซวิ่นจึงได้บรรยายสภาพสังคมจีนในสมัยนั้น ในผลงานเรื่อง "อวยพร" นวนิยายเรื่อง "คำพิพากษา" ถือเป็นผลงานชิ้นเอกของนักเขียนไทยที่มีชื่อเสียงอย่างชาติ กอบจิตติ ในนวนิยายเรื่อง "คำพิพากษา" ชาติได้เล่าถึงโศกนาฏกรรมของฟักที่เป็นคนยึดมั่นในศีลธรรมและขยันขันแข็ง แต่กลับต้องทุกข์ทรมานกับความทุกข์ที่คนรอบข้างหยิบยื่นให้ นวนิยายเรื่องนี้สะท้อนภาพสังคมไทยที่ภายนอกยึดมั่นในหลักธรรมคำสอนของศาสนาแต่กลับถูกพันธนาการด้วยค่านิยมในวัตถุจนตัดสินคนจากภายนอก ในการศึกษาวิจัยนี้ผู้วิจัยได้เปรียบเทียบงานวรรณกรรมทั้งสอง ทั้งด้านแนวคิดและด้านวรรณศิลป์ นักเขียนทั้งสองใช้เทคนิคการเขียนแบบวิพากษ์เสียดสี ในการสะท้อนปัญหาที่เกิดขี้น แม้วรรณกรรมทั้งสองจะเขียนในต่างยุคสมัย ต่างประเพณีวัฒนธรรม แต่ปัญหาที่บุคคลถูกสังคมรอบข้างกดดันกลับไม่แตกต่างกัน Lu Xun and Chart Korbjitti are the great and famous modern literary writers of China and Thailand respectively. Both of their works are in realism term that intends to expose the corruption and the inequality in their society. "Blessing" is the famous piece of Lu Xun's literature. The short story is published in his second book series that called "Hesitation". Xang Lin Sao is the main character of this story. She is harmed by the formal rule and the superstition of feudal. Xiang Lin Sao's tragedy discloses how Chinese's feudal distress people. Although the monarchy in China has already been eliminated, the landlord class still possesses the power. Feudal ethical code is the fetter that chained Chinese people's spirit for a long time. So Lu Xun brings up this series topic and exposes it in his work "Blessing". He makes Xiang Lin Sao the representative of the underclass people that are suffered from the feudal social value. "The judgment" is the masterpiece of the Thai writer, Chart Korbjitti. In this novel, the writer described a tragic story of a person resulted from unreasonable and wrong judgment of the surrounding people. This novel reflects people in Thai society who keep moral principles on the surface but are possessed with the materialism that they judges other people from appearances. These two literary works are about a commoner who is harmed and oppressed by their society. The writers wrote an ordinary character that can reflect the serious problem in the society. The realistic irony is the way that they use to describe the topic. 鲁迅与查•勾吉迪分别是中国、泰国现当代文学史上著名的作家。其作品揭露了所处时代社会所存在的种种问题,是现实主义文学的典型代表。 《祝福》是鲁迅短篇小说的代表、《彷徨》(鲁迅第二部小说集)中的一篇。在这篇小说中,鲁迅形象地刻画了受封建残害最重、痛苦最深的典型人物——祥林嫂。她的人生结局不仅代表了一代人的悲剧,更折射出了中国封建思想对人民的压迫。虽然封建帝制已被推翻,但取而代之的却是地主阶级、军阀官僚的剥削和摧残,封建礼教仍然是套在人民头上的精神枷锁。鲁迅在他的作品里,以鲁镇为浓缩的背景,真实形象地揭露了这一时期中国农村的时代面貌;以祥林嫂为典型,刻画了一代中国人的悲剧,反映了作者对现实的思考,具有深刻的文化意蕴,在中国现当代文学史上占据着重要的地位。 小说《判决》是泰国作家查.勾吉迪的代表作品。查•勾吉迪是泰国文学史上不可多得的优秀作家,他的作品以其独特的视角和写作方式得到了读者的肯定和欢迎。《判决》中,作者刻画了很多被无故残害的小人物,通过善良正义和邪恶残暴的对比,真实的揭露了当时泰国农村中的丑恶现象,犀利地指出,泰国并非表面上的崇尚佛教、崇尚道德,随着物质主义和享乐主义的流入,人们的思想已经开始发生转变,人与人的沟通也变得不纯粹。 这两篇作品都以揭示了人性中的缺陷,描写了“此地”的文化思想、风俗民情,和“此人”的悲惨结局,最后放大、折射出整个社会的缺陷和一代人的命运结局。两位作家不约而同地都使用了以小见大的办法,运用现实主义的笔调描写现实、批判现实,在冷静的写作中爆发出悲怆的情感。 |
Description: | Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/685 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rungsiya-Wuttipaibool.pdf Restricted Access | 5.31 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.