Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/686
Title: 泰华作家陈博文与佛学相关的文学创作研究
Other Titles: การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาของเฉินโป๋เหวินนักเขียนชาวจีนในประเทศไทย
A Study of the Buddhist-Related Literary Works of Chen Bowen, a Chinese Writer in Thailand
Authors: 纪秀生
จี้, ซิ่วเซิง
Ji, Xiusheng
黄雪华
รสสุคนธ์ แซ่อึ้ง
Keywords: เฉิน, โป๋เหวิน
Chen Bowen
วรรณกรรมพุทธศาสนา -- ไทย
Buddhist literature -- Thailand
วรรณกรรมจีน -- ไทย
Chinese literature -- Thailand
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
陈博文
佛教文学 -- 泰国
中国文学 -- 泰国
内容分析
Issue Date: 2011
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ในวงการวรรณกรรมนักเขียนชาวจีนในประเทศไทย เฉินโป๋เหวิน นับว่าเป็นนักเขียนที่มีฝีไม้ลายมือท่านหนึ่ง ท่านรังสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพออกมามากมาย ทั้งผลงานเหล่านั้นก็ยังได้รับรางวัลมากพอสมควร เฉินโป๋เหวิน เป็นผู้ที่จริงจังในด้านการทำงาน แม้งานประพันธ์จะเป็นเพียงอดิเรก ท่านก็ยังใส่ใจต่อรายละเอียดของผลงานของท่านอย่างจริงจัง งานประพันธ์ไม่ว่าจะเป็นนวนิยายสั้นหรืองานเขียนปกิณกะมักสอดแทรกนัยเนื้อหาทางด้านพระพุทธศาสนาไว้ วิทยานิพนธ์เหล่านี้ เน้นศึกษางานประพันธ์ของเฉินโป๋เหวินที่สอดแทรกสาระทางพุทธศาสนา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น "ผลงานประพันธ์ที่สะท้อนพุทธศาสนาของเฉินโป๋เหวิน" "ทัศนคติในแนวทางพุทธศาสนาที่มีอยู่ในบทประพันธ์ของเฉินโป๋เหวิน" และ "สุนทรียภาพทางปรัชญาพุทธศาสนาในผลงานประพันธ์ของเฉินโป๋เหวิน" ในหัวข้อ "ผลงานประพันธ์ที่สะท้อนพุทธศาสนาของเฉินโป๋เหวิน" นั้น ผู้ศึกษาได้เขียนถึงความสำคัญของศาสนาพุทธ์ที่มีอิทธิพลต่อประเทศไทยและส่งผลกระทบถึงงานเขียนของนักเขียนชาวจีนในไทยด้วย ในงานเขียนปกิณกะของเฉินโป๋เหวิน มีคำกล่าวที่ว่า "ปลูกแตงได้แตง ปลูกถั่วได้ถั่ว" ซึ่งหลักคำสอนในศาสนาพุทธมักจะกล่าวถึงอยู่บ่อยๆ ยังผลให้ตัวละครได้มีโอกาสและพยายามหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดอย่างถึงที่สุด ทั้งยังมีความสุขบนความทุกข์ของผู้อื่น ผู้เขียนได้สะท้อนให้เห็นสภาพสังคมที่เป็นอยู่และสะท้อนความเป็นจริงในสังคมด้วย ที่คนโง่ย่อมตกเป็นเหยื่อของคนฉลาด แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามคนฉลาดแบบนี้ก็หนีเวรกรรมไม่พ้น นั่นก็คือ การหนีไม่พ้นกระทำของตนเองซึ่งเกิดขึ้้นในอดีต นี่เป็นการแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลทางศาสนาที่มีผลกระทบต่อการสร้างสรรค์ผลงานของนักเขียน ส่วนในหัวข้อ "ทัศนคติในแนวทางพุทธศาสตร์ที่มีอยู่ในบทประพันธ์ของเฉินโป๋เหวิน" ปรากฏผ่านผลงานของนักเขียนท่านนี้ กล่าวถึง จิตสำนึกของมนุษย์ นั่นก็คือ ก่อนที่จะทำการสิ่งใด ควรคิดถึงผลของการกระทำด้วย เพราะเมื่อลงมือไปแล้ว เราไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงอะไรได้ และการกระทำขอเราในวันนี้เป็นตัวกำหนดอนาคตในวันข้างหน้า และถ้าหากรู้ว่าทำผิดไป แล้วคิดแก้ไข ก็จะได้รับการให้อภัย ดังเช่น เรื่องราวขององคุลีมาลในอดีต ดังนั้น จึงสามารถเข้าใจในความคิดของนักเขียนท่านนี้ได้ และได้แง่คิดว่าเรากำลังดำเนินชีวิตอย่างไรจึงจะมีความสุข และในหัวข้อสุดท้าย "สุนทรียภาพทางปรัชญาพุทธศาสนาในผลงานประพันธ์ของเฉินโป๋เหวิน" ได้กล่าวถึงมุมมองของความสุนทรียภาพในงานเขียนที่วิเคราะห์ผ่านไปแล้ว จากการศึกษา พบว่า แม้ผู้เขียนจะเป็นผู้ที่ไม่เคยเคร่งครัดในศาสนาใด แต่ก็ได้รังสรรค์ผลงานที่มีสาระทางพุทธศาสนาสอดแทรกอยู่ในงานประพันธ์ สาระที่นักเขียนท่านนี้เน้น คือ เรื่องของการเตือนสติ การดำรงตนอยู่ด้วยความไม่ประมาทา ใช้สติเป็นสิ่งนำพาชีวิต จึงจะสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
In literary circles the Chinese writers in Thailand. Chen Bowen as a proficiency writer. He create a quality work out a lot. Some of them also won quite a lot. Chen Bowen is serious in terms of work. Although the prose is just a hobby. He still care about the details of his work seriously. Prose fiction, whether a short or miscellaneous writings often inserted words into the content side of Buddhism. This thesis focused study of the work of composer Chen Bowen pornographic material inserted inn the Buddhist religion. The content is divided into "The prose reflects Buddhism's Chem Bowen", "Attitude in the way Buddhism has in the compositions of Chen Bowen" and "Aesthetics of Buddhist Philosophy in the prose of Chen Bowen." In section "The prose reflects Buddhism's Chen Bowen" researcher written about the importance of Buddhism in Thailand and the influence affecting the writing of authors with the Chinese in Thailand. His writing is saying Cantaloupe was grown. Beans are legumes. Under the doctrine of Buddhism is often mentioned frequently. A result, the characters have a chance and try to avoid errors as possible. There is also a focus on the suffering of others. The author has reflected social conditions that exist and reflect the reality of society. Stupid people would fall victim to smart people but however everyone can't escaped their actions in the past. This is demonstrated of religious influences that affect the creation of the writer. In section "Attitude in the way that Buddhism is the compositions of Chen Bowen" the doctrine of Buddhism appeared through the work of this writer. This work mentioned about the conscience of mankind that is before you should think about what the effect of actions by because when the act already. We cannot fix or change anything and our actions today determines the future of tomorrow. If something goes wrong you know that has been modified and then think of forgiveness as the story of Angulimala in the past. Therefore, it can be understood in the mind of this writer and the standpoint that we are living how to be happy. In the final section "Aesthetics of Buddhist philosophy in the works of the composer Chen Bowen" was mentioned in the aesthetic view of literature that analyzes. The study found that although writer will never by any strict religion. But also creates works that have religious content inserted in the prose. The material on this writer is a matter of caution maintenance does not exist with negligence. Consciousness is what brought life that we can easily live with happiness.
在泰华文学的舞台上,陈博文先生是一位杰出的作家, 他创作了许多优秀的作品, 也获得了颇多的文学奖项。 陈博文先生是很认真工作的人,虽是以写作为业余工作,然而他对文学创作却是精心投入,至微至善,他的作品无论是短篇小说或是杂文篇章,多隐含着传统佛学思想。 本论文以研究探索陈博文作品中的佛学教养为重点,深入挖掘和讨论“陈博文文学创作中的佛教影响”、 陈博文文学作品中的佛学内涵”及“陈博文文学创作中佛学因素的审美意蕴”等问题。 在“陈博文文学创作中的佛教影响”一章中,笔者写到佛教的重要以及对泰国社会的影响,在陈博文的杂文中谈到的“种瓜得瓜,种豆得豆。”在佛教教义里也曾提到过。主人公将使用偶然的机会,充分利用优势和避免劣势,把自己的快乐建立在别人的痛苦之上。这也是作者反映的社会情况,即反映社会现实的情况,愚笨的人一直是聪明人的诱饵,但是不管怎样聪明的人都不能逃脱报应,那就是离不开自己在之前的所作所为。这体现了佛教对泰华作家创作思想的影响。 而在“陈博文文学作品中的佛学内涵”一章中,作品中谈到人的觉悟,也就是说,在做任何事情之前,应该考虑后果,因为当动手完成了,就不能改变什么,而我们今天的行动,将决定我们的未来。如果做错了,能意识到错误,并诚心改过,就会得到佛祖的原谅与仁爱,像佛陀的弟子“央瞿利摩罗(Angulimala)”。然而读者们能走进他的想法,还接触到要怎么做生活才能得到幸福。 在最后“陈博文文学创作中佛学因素的审美意蕴”一章里,是写有关他审美角度的问题。 通过研读陈博文的文学作品,笔者发现虽然他不是佛教徒,但是他创作了具有佛教内涵的作品。作品中的佛教思想以警告启示为目的,教人们应当谨慎,慈善为怀,以智为之,才会有生活的幸福。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/686
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rotsukhon-Sae-Ueng.pdf
  Restricted Access
2.79 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.