Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/688
Title: 梦莉与尤今散文创作比较研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบงานประพันธ์ร้อยแก้วของเมิ่งลี่และโหยวจิน
A Comparative Study of Mengli's and Eugene's Prose Writings
Authors: 庄伟杰
Zhuang, Weijie
卓宝欣
ภัทรสุดา ภาระพันธ์
Keywords: Mengli
เมิ่งลี่
Eugene
การแต่งร้อยแก้ว
Essay
散文写作
วรรณคดีเปรียบเทียบ
Comparative literature
比较文学
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
内容分析
梦莉
尤今
โหยวจิน
นักประพันธ์, จีน
Authors, Chinese
作家, 中国
Issue Date: 2015
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: นักประพันธ์ชาวไทยนามว่า เมิ่งลี่ และนักประพันธ์ชาวสิงคโปร์นามว่า โหยวจิน ถือเป็นตัวแทนนักประพันธ์หญิงที่มีชื่อเสียงในแวดวงวรรณกรรมภาษาจีนของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นักประพันธ์หญิงทั้งสองคนสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างโดดเด่น โดยเฉพาะงานประพันธ์ร้อยแล้ว การที่นักประพันธ์ทั้งสองมีถิ่นที่อยู่แตกต่างกันทำให้งานประพันธ์ร้อยแก้วที่สื่อด้วยภาษาจีนนั้นมีศิลปะและมีลักษณะการใช้ภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง อีกทั้งนักประพันธ์ทั้งสองต่างได้สร้างสรรค์งานประพันธ์โดยการนำเสนอถิ่นที่อยู่ของคนในหลากหลายแง่มุม ทั้งยังมีสุนทียะรสนิยมและเนื้อเรื่องที่หลากหลายชวนติดตามอันอับอวลไปด้วยกลิ่นอายแห่งสีสันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังได้สอดแทรกความเป็นจีนในงานประพันธ์ด้วย อนึ่ง แม้ว่าในสังคมจะมีการแบ่งแยกชายหญิงแต่ในทางวรรณกรรมผู้หญิงนับว่าเป็นฝ่ายที่ได้เปรียบมากกว่า กล่าวคือ ผู้หญิงมีอิสระในการสร้างสรรค์งานประพันธ์และสามารถแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึกของตนได้ วิทยานิพนธ์นี้ได้ศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบกลวิธีการสร้างสรรค์งานประพันธ์ร้อยแก้วของนักประพันธ์หญิงทั้งสองคนของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกทั้งศึกษาเส้นทางชีวิตในแวดวงวรรณกรรมภาษาจีน ตลอดจนกลวิธีร้อยเรียงเรื่องราว รูปแบบความงาม และศิลปะการประพันธ์ อันเป็นเอกลักษณ์ในงานประพันธ์ร้อยแก้วของนักประพันธ์หญิงทั้งสอง อย่างไรก็ตามนอกจากสิบประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือประชาคมอาเซียนจะมีความร่วมมือทางเศรษฐกิจแล้ว ผู้วิจัยเห็นว่าควรมีความร่วมมือในด้านอื่นๆ ด้วยเพื่อทำให้เข้าใจสภาพความเป็นอยู่ วิถีชีวิตและจิตวิญญาณของชาวจีนโพ้นทะเลที่อพยพออกมาตั้งถิ่นฐานนอกอาณาเขตจีนแผ่นดินใหญ่ ด้วยเหตุนี้ การศึกษาวรรณกรรมภาษาจีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงมีส่วนช่วยให้ชาวจีนในเขตภูมิภาคนี้ได้เรียนรู้รากเหง้าและเข้าใจวัฒนธรรมของตนผ่านตัวอักษรซึ่งจะนำไปสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและส่งผลให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นมากขึ้นด้วย
Thailand's Mengli and Singapore's Eugene represent the renowned female writers of Southeast Asia's. Their works are successful, especially the prose. Thought the two writers live in different countries, their proses written in Chinese are unique in artistic characteristic, linguistic appreciation, bountiful and colorful context, Southeast Asian exoticism and most importantly, Sinology. The prose created by the two pen-pushers illustrates the various facets of the countries they live, thus generating the colorful literature of the Southeast Asian's. The duo's prose possesses the qualities of notion, literal creation, their freedom of writing and revealing the feminine sensibility. The advantage of sexual discrimination seems to lie with the female writers in the world of literature. The approaching ASEAN means more reciprocal assistance on economy and research and literature undoubtedly plays significant role. To study and appreciate Southeast Asian literature is not only capable of understanding the overseas Chinese way of life, but also sensing the writers' exoticism. In this case, Southeast Asian Chinese will realize the mutual culture and thus consolidate the friendship among the ASEAN members.
泰国的梦莉和新加坡的尤今,是东南亚具有代表性的著名华文女作家,她们的文学创作成就斐然,尤其是散文写作。她们虽然住在不同的国家,但散文都是用中文写出来的,都有自己的艺术特征、语言特色、审美情趣,内容丰富多彩,充满了在东南亚生活的人情风味,也不缺少中国的味道。她们笔下的散文从各个角度来表现所居国家的方方面面,在异彩纷呈的东南亚华文文学世界里各有千秋,自成风采。她们的散文既有文学思想内容,又有文学创作之美。尽管社会还有男女性别之分,但是在文学上女性似乎更有优势,她们自由创作,揭示女性的情感。本论文拟就这两位东南亚华文女作家的散文创作进行比较,探析她们的文学成长之路、创作主体、散文的美学风貌和艺术特色。东南亚十国除了要在经济方面互相帮助,也需要研究其他的方面,文学无疑是值得重视和研究的对象。对东南亚华文作家和作品的欣赏和研究,不仅可以了解海外华人的生存境况、生活风貌和精神诉求,而且可以感知作家笔下的异国风情。这样,东南亚华人既能增进彼此的了解和文化认同,又能通过文字认识对象,使东盟更加亲密友好
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/688
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PATTARASUDA-PARAPAN.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.