Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/699
Title: 泰国汉语中级水平学习者"一""不"变调声学实验与教学实践
Other Titles: การศึกษาการเปลี่ยนเสียง "Yi" "Bu" โดยเครื่องมือทดลองทางภาษาศาสตร์ของนักศึกษาที่ศึกษาภาษาจีนระดับกลาง
Experimental Study and Instructional Practice of Chinese Character "Yi" "Bu" Tone Snadhi among Thai Students of Intermediate Stage
Authors: 肖瑜
Xiao, Yu
王云芳
Wang, Yunfang
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
ภาษาจีน -- การออกเสียง
Chinese language -- Pronunciation
汉语 -- 发音
汉语 -- 学习和教学
Issue Date: 2018
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 本文研究以4名泰语中级汉语学习者"一""不"变调为研究对象, 以实验语音和对比分析为研究方法, 分别提取2名中国北京地区发音人和4名泰国发音人"一""不"变调例词语音数据, 将数据进行归一化处理并对比研究后得出:4名泰国发音人"一""不"本调无调型偏误, 而变调均出现不同程度的调值或调型偏误. 由此可证明:4名泰国发音人具有"一""不"变调意识, 但未能建立正确的学习监控机制以监控语言输出. 得出各组对比数据具体偏误类型后, 笔者又通过教学实践对"一""不"变调问题进行专项训练, 目的是为帮助学员建立正确的学习监控机制. 笔者于教学实践完成两周后, 再次录取4名发音人语音信息并提取数据得出:"一"位于词中间的上声字前未能纠正外, 其余16组例词调型均得到纠正, 调值得到明显改善. 结合两次实验数据和教学实践可得出结论:4名泰国发音人具有"一""不"变调意识, 但不具备正确的学习监控机制, 适时集中地针对变调问题进行专项训练能有效建立正确的学习监控机制, 从而纠正学习者"一""不"变调偏误问题.
ผู้วิจัยได้กำหนดเป้าหมายในการวิจัยได้แก่นักเรียนไทยที่เรียนการออกเสียงภาษาจีนกลาง เรื่อง การออกเสียงระหว่าง "Yi" "Bu" จำนวน 4 คน และใช้วิธีวิจัย ได้แก่ การทดลองเสียงและการเปรียบเทียบ ได้เก็บข้อมูลจากคนจีนที่ออกเสียงทางปักกิ่ง จำนวน 2 คน และคนไทย 4 คน คนที่ออกเสียงคำศัพท์ที่เปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ "Yi" "Bu" หลังการวิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อมูลจากการวิจัย พบว่า คนไทย จำนวน 4 คน ที่ออกเสียง "Yi" "Bu" มีการผันวรรณยุกต์การออกเสียงผิดพลาด เสียงวรรณยุกต์มีหลายระดับแต่ละระดับมีการออกเสียงต่างกันจึงทำให้เกิดการออกเสียงผิดพลาด ดังนั้น จึงสามารถพิสูจน์ได้ว่า คนไทย จำนวน 4 คน ที่ออกเสียง "Yi" "Bu" มีการตระหนักรู้ถึงการผันเสียงวรรณยุกต์เสียงของคำ แต่ว่าไม่สามารถเข้าใจและเรียนรู้ระบบการปรับเสียงที่ถูกต้องเพื่อตรวจสอบผลลัพธ์ของภาษาได้ หลังจากเปรียบเทียบประเภทของการออกเสียงที่เฉพาะเจาะจงของแต่ละกลุ่ม ผู้วิจัยจึงได้สร้างโครงการฝึกอบรมการจัดการเรียนการสอนการออกเสียง "Yi" "Bu" อย่างถูกต้อง วัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามาถผันวรรณยุกต์ได้อย่างถูกต้อง ผู้วิจัยได้จัดการเรียนการสอนผ่านไปสองสัปดาห์ จากนั้นได้ศึกษาข้อมูลของคนไทยทั้ง 4 คน และได้ข้อมูลดังต่อไปนี้ นอกจากคำว่า "Yi" อยู่ตรงกลางของคำศัพท์ ซึ่งไม่สามารถแก้ไขได้ ส่วนที่เหลืออีก 16 กลุ่มของการปรับคำได้รับการแก้ไขแล้ว การปรับโทนเสียงดีขึ้นอย่างมาก รวบรวมข้อมูลจากการทดลองทั้งสองครั้ง และการปฏิบัติการเรียนการสอนสรุปได้ว่าคนไทย จำนวน 4 คน ที่ออกเสียง "Yi" "Bu" มีการตระหนักรู้ถึงการปรับเสียงของคำ แต่ว่าไม่สามารถเข้าใจและเรียนรู้ระบบการปรับเสียงที่ถูกต้อง เพื่อตรวจสอบผลลัพธ์ของภาษาไทย การฝึกอบรมและการเรียนรู้การปรับโทนเสียงได้มีการพัฒนาประสิทธิภาพในการออกเสียงได้อย่างดี และสามารถเข้าใจกลไกในการออกเสียงได้อย่างถูกต้อง และสามารถแก้ไขปัญหาของผู้เรียนในการปรับเสียงของคำ "Yi" "Bu" ให้ถูกต้อง
This thesis studies four Thai intermediate Chinese learners' tone sandhi of "Yi" "Bu", using the method of experimental speech and comparative analysis to extract voice data of modulated words with "Yi" "Bu" from two Chinese speakers from Beijing and four Thai speakers. With the normalization and contrastive study of the data, we can learn that for these four Thai speakers, there's no tone pattern error on the words "Yi" "Bu", while there are varying degrees of error on the tone pitch or type of modulated words. Thus, it is shown that four Thai speaker have the sense of modified tones on "Yi" "Bu", but failed to establish the correct learning monitoring mechanism to monitor the language output. When I get the error types of contrast data to each group, I offer the training on this issue of tone sandhi of "Yi" "Bu" through teaching practice, to help learners to establish the correct learning monitoring mechanism. Two weeks after the teaching practice, I take the voice information and extract the data again from these four Thai speakers and learn that sixteen groups' tone types of modulated words have been corrected and the tone pitch improved, except the mistake of "Yi" before the third tone in the middle of the word. According to two experimental data and teaching practice, it comes to a conclusion that four Thai speakers have the sense of tone sadhi on "Yi" "Bu" but failed to establish the correct learning monitoring mechanism. Special training that focus on the tone problem timely and concentrated can effective establish the correct learning monitoring mechanism and correct the mistakes on modified tone of "Yi" "Bu" for learners.
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2018
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/699
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WANG-YUNFANG.pdf
  Restricted Access
6.42 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.