Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/704
Title: | 二十世纪泰国华文教育发展史研究 |
Other Titles: | การศึกษาภาษาจีนในประเทศไทยในศตวรรษที่ 20 Research on the Development of Chinese Education in Thailand in the 20th Century |
Authors: | 李寅生 Li, Yinsheng 王天松 Wang, Tiansong |
Keywords: | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน -- ไทย -- ศตวรรษที่ 20 Chinese language -- Study and teaching -- Thailand -- 20th century 汉语 -- 学习和教学$z泰国 -- 二十世纪 |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีชาวจีนอยู่อาศัยจำนวนมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การย้ายถิ่นฐานของชาวจีนมาอาศัยในประเทศไทยก็ถือได้ว่ามีบทบาทสำคัญในการผลักดันพัฒนาการของสังคมไทยอย่างรอบด้านและทำให้ก่อเกิดสังคมชาวจีนในประเทศไทยขึ้นมาในขณะเดียวกันพัฒนาการของสังคมจีนยังได้กระตุ้นให้เกิดการศึกษาภาษาจีนขึ้นอีกด้วย โดยโรงเรียนสอนภาษาจีนได้ปรากฏอย่างเป็นทางการตั้งแต่ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ช่วงก่อนทศวรรษที่ 1930 ถือเป็นยุคเฟื่องฟูของการศึกษาจีนในประเทศไทยในช่วงทศวรรษที่ 1940 การศึกษาภาษาจีนในประเทศไทยลดลงอย่างรวดเร็วจนเกือบจะสูญหายไป ในยุคหลังชัยชนะของสงครามโลกครั้งที่สองการศึกษาภาษาจีนได้มีการฟื้นฟูขึ้นมาชั่วขณะแล้วก็กลับเข้าสู่การถดถอยอีกครั้งจนถึงหลังทศวรรษที่ 1990 การศึกษาภาษาจีนจึงได้เข้าสู่ยุคเจริญรุ่งเรืองอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ดุษฎีนิพนธ์นี้มุ่งเน้นการวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลงของการศึกษาภาษาจีนในประเทศไทยช่วงศตวรรษที่ 20 โดยรวมถึงลักษณะของโรงเรียนภาษาจีนและพัฒนาการของสังคมจีนในแต่ละช่วงเวลาและการสำรวจสาเหตุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ซึ่งจากการวิเคราะห์พัฒนาการการศึกษาภาษาจีนในแต่ละช่วงเวลาของประเทศไทยน้้นมีปัจจัยหลัก ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของสังคมชาวจีนโพ้นทะเล และสถานะของประเทศจีนในระดับนานาชาติและการยกระดับความแข็งแกร่งโดยรวมของประเทศ Thailand is the country with the largest number of Chinese residents in Southeast Asia. Throughiut the history, Chinese migration to Thailand is important in the developing of Thai society in many ways, which results in the establishment of the Chinese community in Thailand in the 19th century. Meanwhile, the development of Chinese society also initiated the study of Chinese as well. Then Chinese schools appeared at the beginning of the 20th century. Before the early 1930s, it was considered a flourishing era of Chinese language education in Thailand. However, Chinese language education in Thailand drastically lost popularity until almost disapperard altogether, during the 1940s. After the Second World War victory period, Chinese language education had been temporarity restored. From the 1950s to 1980s, Chinese education had made a gap in Thailand. After the 1990s, Chinese education preceded into a prosperous era like never before. According to the analysis of the development of Chinese language education in each period of Thailand history, the main factors affecting the development of Chinese language education in Thailand can be summarized as follows; the transformation of Chinese society in Thailand, the changes in international policies related to Thai people, Overseas Chinese and Chinese language education, the status of China at the international level and the enhancement of the overall competitiveness of the country. 泰国是华人居留人数最多的东南亚国家。泰国华人与当地社会的融合通常被认为是东南亚地区民族融合的成功典范。自古以来,旅居泰国的华人对泰国社会各方面发展起着主要的推动作用,在十九世纪初泰国就形成了华人社会。华人社会的发展同时也促使了华文教育的产生。二十世纪初华文学校正式出现,同时也开启了泰国华文教育跌宕起伏的艰难历程。二十世纪三十年代前是泰国华文教育自由勃兴的时期,泰国政府不从政策上强行干预,以及华人社会形成的推动作用,使华文教育持续发展并初具规模;但随着君主专制到君主立宪制度的过渡,泰国的华文教育出现了从四十年代的急剧衰落到几近消亡时期,这是由于大泰族主义唤醒了泰国人的民族意识,而不断出台打压华文教育的政策,使华文教育步入低谷;接着二战胜利后出现了短暂的复兴时期;昙花一现后则是从五十年代至八十年代长达 40 年的式微时期,这 40 年使整个的泰国华文教育出现了断层;九十年代后泰国华文教育才出现了前所未有的真正高潮时期。 华文教育的发展变化绝对不是独立存在的,它是随着华人社会的发展变化而变化的。本文着重研究二十世纪泰国华文教育的变化,包括每个阶段华人社会的发展及华文学校的特点,重点观察引起这些变化的原因。通过对泰国各历史时期华文教育发展状况的分析,总结出影响泰国华文教育发展的因素主要是由泰国华人社会的变迁、中泰两国华侨和华文教育政策的变化以及中国国际地位和综合国力的增强。 |
Description: | Thesis (D.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2019 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/704 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WANG-TIANSONG.pdf Restricted Access | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.