Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor李志艳-
dc.contributor.advisorLi, Zhiyan-
dc.contributor.author吴虹琏-
dc.contributor.authorWu, Hunglien-
dc.date.accessioned2022-09-21T14:09:29Z-
dc.date.available2022-09-21T14:09:29Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/705-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015th
dc.description.abstractจากการที่ผู้เขียนได้ศึกษาเกี่ยวกับการเรียนการสอนตัวอักษรจีนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและจากผลสำรวจแบบสอบถาม สามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ ประการที่หนึ่งนักเรียนประสบปัญหาและอุปสรรคในการเรียนตัวอักษรจีนอยู่ในหลายๆ ด้าน ปัญหาหลักของนักเรียนคือ อักษรจีนไม่เพียงแต่เขียนยาก อีกทั้งยากต่อการจดจำ เพราะตัวอักษรจีนมีรูปแบบเฉพาะตัวซึ่งไม่สามารถที่จะจดจำได้หมด นอกจากนี้นักเรียนก็ยังขาดการฝึกฝนที่สม่ำเสมอ จึงทำให้บางครั้งเขียนตำแหน่งตัวอักษรไม่ถูกต้อง และไม่ค่อยเข้าใจลำดับขั้นตอนในการเขียน ประการที่สอง การเรียนรู้ตัวอักษรจีนจำเป็นต้องเรียนรู้ในหลาย ๆด้าน ประเด็นหลักคือผู้เรียนควรจะเรียนรู้โครงสร้างของตัวอักษรจีน เปรียบเทียบรูปร่างของตัวอักษรจีนที่มีความใกล้เคียงกัน เรื่องราวหรือที่มาของตัวอักษรจีน รูปแบบตัวอักษรจีนการเขียนผิด เช่น อักษรควรเขียนเยอะหรือน้อย รวมทั้งความแม่นยำในการเขียนลำดับขีด สัดส่วนหรือขนาดเล็กใหญ่ในการเขียน ประการที่สามในการเรียนการสอนภาษาจีนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ควรต้องมีสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับเนื้อหาตัวอักษรจีนก่อนอื่นจะต้องพิจารณาก่อนว่ามีลำดับขีดกี่ขีด เป็นตัวอักษรที่พบหรือใช้เป็นประจำหรือไม่่ และควรคิดว่าการใช้อักษรจีนนี้เป็นส่วนประกอบหรือหมวดคำของตัวอักษรจีนที่ใช้บ่อยและสามารถประกอบอักษรอื่นๆ และยังต้องพิจารณาอีกว่าเป็นตัวอักษรจีนที่สามารถใช้ในการเรียนการสอนเกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียนหรือไม่ อีกทั้งยังต้องสอนจากง่ายไปยากและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ลำดับขีด โครงสร้าง และกฎการเขียนตัวอักษรจีนเป็นสิ่งที่ผู้เรียนกังวลใจมากที่สุด ผู้เรียนอยากจะเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ เพราะสิ่งเหล่านี้มีส่วนช่วยพวกเขาในการเรียนรู้ตัวอักษรอื่นๆ และจดจำได้ง่ายขึ้น ต่อมาก็คือ เนื้อหาเกี่ยวกับรูปอักษรคล้ายและอักษรจีนที่เขียนผิด การสร้างตัวอักษรจีน และท้ายสุดสื่อการเรียนการสอนตัวอักษรจีนนั้นควรมีภาษาไทยเพิ่มเติมเพื่อง่ายต่อการสอนมากยิ่งขึ้น จากการวิเคราะห์แบบสอบถามข้างต้นผู้เขียนได้เสนอแนวทางกลยุทธิ์การจัดการเรียนการสอนตัวอักษรจีนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นพร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการเขียนตำราและสื่อการสอนต่างๆ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี้คงเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษาภาษาจีนไม่มากก็น้อยth
dc.description.abstractThis article is bases on various collections in research literature and materials of TCFL (Teaching Chinese ad Foreign Language), and the author has done survey and visit middle school in Thailand, and to select the part of the way the questionnaire in Thai Chinese beginners relevant primary teaching and TCFL investigation and analysis needs found: First, a number of Thai students have problems in learning Chinese characters, and mainly in the characters writing, memorizing, they oftern get wrong in Chinese character component size ratio. Second, Thai students have a lote of extra demand in Chinese character learning. They need to know what member made, compare for the similar shape of Chinese characters, the source of the story characters, characters remind bias as much/small writing strokes, strokes, part size ratio is not correct and so on. Third, the Thai students Chinese characters teaching beginners demand for Chinese characters teaching materials should not only consider the number of strokes of Chinese characters selected, but also consider whether to selecr characters often do root of radical composition other words, we must consider whether to apply immediately learning this lesson texts. In addition, the Chinese character writing in relation to the basic rules of strokes of Chinese characters constituting part of the contents of students are also very much like to know, because these components may help them apply to other Chinese characters learning and memory. The second is about the word in form and content Character Error students want to be reflected in textbooks, and then followed by the contents of coinage law. Last Kanji textbooks should provide Thai comments. Based on the above investigation and analysis, the paper beginner Chinese character study from Thailand needs, try to make Thailand the primary teaching strtegies and teaching Chinese as a foreign prepare proposals, hooping to Thailand Primary Teaching Chinese Language to provide some help.th
dc.description.abstract本文在搜集阅读大量有关泰国初级对外汉字教学和教材的研究文献的基础上,走访和调查泰国中学,并以调查问卷的方式选取部分泰国汉语初学者进行有关初级对外汉字教学和教材需求的调查分析发现: 一、泰国汉语初学者汉字学习存在不小的困难,主要表现在汉字难写、难记,具体表现在汉字无法记忆、经常少写汉字笔画或部件、将汉字部件写在不正确的位置以及不了解汉字部件的大小比例。 二、泰国汉语初学者汉字学习有很多需求,主要需求有该汉字是由什么部件构成的、字形相似的汉字的对比、汉字的来源故事、汉字偏误提醒如多/少写笔画,笔画、部件大小比例不正确等。 三、泰国汉语初学者对汉字教材的需求有汉字教材内容应该既要考虑选取汉字的笔画多少,又要考虑选取汉字是不是常用汉字,还要考虑选取汉字是否经常做字根或者偏旁部首组成其他字,也要考虑是否在本课的课文学习中马上运用。也就是说要按照从易到难、从常用到次常用结合造字功能和交际功能进行综合考虑和合理安排。另外,有关汉字笔画、笔顺、结构的汉字书写基本规则的内容,学生关心是最多的,有关汉字构成部件的内容学生也是非常想知道的,因为这些部件可以帮助他们应用于其他汉字的学习和记忆。其次就是关于形近字和汉字偏误的内容学生也想在教材中得到体现,再其次就是造字法的内容。最后汉字教材应该提供泰文注释。 基于上面的调查分析,本文从泰国初学者汉字学习需求出发,试着提出泰国初级对外汉字教学策略和教材编写建议,希望能够对泰国初级对外汉字教学提供一定的帮助。-
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏth
dc.subjectRajabhat Mahasarakham University Demonstration Schoolth
dc.subjectภาษาจีน -- การศึกษาและการสอนth
dc.subject汉语 -- 学习和教学th
dc.subject汉字-
dc.title泰国汉语初学者汉字学习方法与策略—以 玛哈沙拉堪皇家大学附中为例th
dc.title.alternativeการศึกษาอักษรจีนสำหรับผู้เริ่มต้นเรียนภาษาจีน -- กรณีศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏth
dc.title.alternativeThe Methods and Tactics of Chinese Alphabet for Beginners in Thailand -- Taking Rajabhat Mahasarakham University Demonstration School As an Exampleth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสอนภาษาจีนth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WU-HUNGLIEN.pdf
  Restricted Access
2.19 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.