Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/706
Title: 汉泰语思考类动词对比分析及教学对策研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบประเภทคำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิดในภาษาจีน-ภาษาไทยและกลวิธีการจัดการเรียนการสอน
Comparison Analysis of Thinking Verbs of Chinese and Thai Language and Teaching Strategies
Authors: 肖瑜
Xiao, Yu
肖淋方
Xiao, Linfang
Keywords: ภาษาจีน -- คำศัพท์
汉语 -- 词汇
Chinese language -- Vocabulary
ภาษาไทย -- คำศัพท์
Thai language -- Vocabulary
ภาษาไทย -- คำกริยา
Thai language -- Verb
泰语 -- 动词
ภาษาจีน -- คำกริยา
Chinese language -- Verb
汉语 -- 动词
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
ความรู้สึก
Emotions
ภาษากับความรู้สึก
Language and emotions
泰语 -- 词汇
语言与感情
感觉
Issue Date: 2020
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: คำกริยาบอกสภาพจิตใจเป็นคำกริยาที่แสดงถึงพฤติกรรมหรือสภาวะทางจิตใจของคน ซึ่งกิจกรรมในเชิงบอกสภาพจิตใจกับภาษานั้นมีความเกี่ยวเนื่องกันอย่างใกล้ชิด โดยมากมักจะใช้กับการเรียนรู้และการสื่อสาร คำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิดเป็นหนึ่งในประเภทของคำกริยาที่บอกสภาพจิตใจ คำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิด เป็นกิจกรรมทางพฤติกรรมที่สามารถสะท้อนการคิดภายในของมนุษย์เชื่อมโยงกับโลกภายนอก จากการเปรียบเทียบคำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิดในภาษาจีนและภาษาไทย ทำให้เห็นถึงความแตกต่างในกิจกรรมการแสดงออกทางความคิดของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ได้อย่างชัดเจนมากขึ้น รวมถึงสามารถช่วยในการจัดการเรียนการสอนของนักเรียนไทยและนักเรียนจีนในเรื่องการสอนคำศัพท์ประเภทคำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิดได้อีกด้วย จากจำนวนคำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิดในภาษาจีนและไทยมีค่อนข้างมาก ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกคำกริยาที่แสดงความรู้สึกคิดในภาษาจีนจากฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ ทั้งหมด 14 คำในส่วนของภาษาไทย ผู้วิจัยได้เลือกคำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิด ทั้งหมด 7 คำโดยเลือกมาจากหนังสือคลังคำ (คู่มือการใช้ภาษาไทยแนวใหม่รวมคำและสำนวนในภาษาไทยตามหมวดหมู่และความหมาย) และพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2554 เพื่อนำมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบในเชิงความหมายและในเชิงวากยสัมพันธ์ วิทยานิพนธ์เล่มนี้ในส่วนของบทนำกล่าวถึงที่มาในการเลือกหัวข้อและวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน เนื้อที่วิจัย วิธีการวิจัยและแหล่งที่มาของข้อมูล บทที่ 2 เริ่มจากการวิเคราะห์และเปรียบเทียบความหมายเหมือนและแตกต่างของคำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิดในเชิงความหมายของคำ และหน่วยคำในภาษาจีนและภาษาไทย บทที่ 3 เปรียบเทียบและวิเคราะห์หาความหมายที่เหมือนและแตกต่างในหน้าที่ของวากยสัมพันธ์คำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิดในภาษาจีนและภาษาไทย คำที่ใช้คู่กับกรรมในประโยค รวมถึงโครงสร้าง ประธาน กรรม ส่วนขยายนาม และส่วนขยายกริยา บทที่ 4 เป็นการวิเคราะห์ความหมายและวากยสัมพันธ์เพื่อเป็นข้อเสนอแนะกลวิธีการสอนคำศัพท์ภาษาจีนในส่วนของคำกริยาที่แสดงความรู้สึกนึกคิด ในการสอนคำศัพท์ภาษาจีน ส่วนสรุป จะเป็นการสรุปและทบทวนเนื้อหาทั้งหมดและส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ของวิทยานิพนธ์
The express verb of mind is a verb that is the behavior or mental state of a person. In which activities of the express verb of mind and language are closely related . And we have a tendency to use it for learning and communication quite a lot. The express verb of thoughts is one of the types in the express verb. The express verb of thoughtd describes the behavior of movement with human who have used thought to communicate through the language for seeing the world. Moreover, the express verb of thoughts which can show abstract thoughts be able to reflect the thoughts of human towards the outside world as well. From comparing about the express verbs of thoughts in Chinese and Thai this made us to comprehend the differences between Chinese and Thai languages about the expressive activities of the verb in each of the ethnic group more clearly. At the same time this research can be helpful the learner of Thai and Chinese students in the learning of expressing the verb of thoughts. There is so many of the express verb of thoughts works in Chinese and Thai. Therefore, the researcher chose the authoriative material 14 words about expressing verb of thoughts in Chinese. In Thai language the researcher selected 7 verbs expressing thoughts and sentences from the corpus books (a new Thai manual for combining Thai words and expressions bases on categories and meangings) and The Dictionary of the Royal Institute, B.E. 2011. The purpose is to comparative analysis sematic and syntax. The introduction of this thesis is divided into the reason of selection topic and then analyze the current situation, research content, research methodology and source of information. Chapter II Starts with the analysis and comparison of the similar and different meanings of expressing the verb of thoughts about the semantics of words and morphemes in Chinese and Thai. Chapter III Compare and analyses the similar and different about the semantic in the functions of syntax about the express verb of thoughts in Chinese and Thai which used with object in sentences, including the subject object attribute and adverbial. Chapter IIII to analyze the semantics and syntax to suggest strategies for teaching Chinese vocabulary in terms of the express verb of thoughts. In teaching Chinese vocabulary. The summary of the chapter will summarize and review all content and incomplete sections of the thesis.
心理动词是指表示人的心理行为或状态的动词,心理活动和语言有着密切的联系,在学习和交际中使用频繁。思考类动词是一种能够反映出内心思维活动与外部世界联系的心理活动行为动词。通过汉语和泰语两种语言的思考类动词对比,我们将能更清楚的认识到各民族在思维活动表达上的差异,也能对泰国学生的汉语思考类词汇教学提供帮助。 汉泰语思考类动词的数量比较丰富,本文所研究的思考类动词汉语主要参照各类权威工具书,并从中选取出 14 个汉语思考类动词,泰语主要参考《คลังคำ (คู่มือการใช้ภาษาไทยแนวใหม่รวมคำและสำนวนในภาษาไทยตามหมวดหมู่และความหมาย) 》、《พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ 2554》选取 7 个研究对象,来进行汉泰语思考类动词语义、句法的对比分析。 首先,本文的绪论部分主要介绍了选题背景及研究现状、内容、方法以及语料来源。第二部分是从词义释义出发,对比分析汉泰语思考类动词的语义、语素,并找出两者间的异同之处。第三部分是通过汉泰语思考类动词和宾语搭配以及在句中作主语、宾语、定语、状语等句法功能这几个方面进行对比分析,找出两者在其中的差异。第四部分是根据语义和句法的分析,为汉语思考类动词在泰国汉语词汇教学方面提供教学对策。最后是结论部分,总结并回顾全文内容,并说出论文的不足之处。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/706
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
XIAO-LINFANG.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.