Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/710
Title: 泰国华校小学生汉语口语话题教学法研究----以北碧呈万公立育侨学校小学六年级学生为例
Other Titles: การศึกษาค้นคว้าการเรียนการสอนภาษาจีนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนระดับประถมศึกษา : กรณีศึกษากลุ่มนักเรียนตัวอย่างระดับประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว จังหวัดกาญจนบุรี
A Study of the Teaching Chinese Language Methods for Oral Communication of Primary School Pupils : A Case of Grade Six Pupils of the Yucieo School in Kanchanaburi
Authors: 熊柱
Xiong, Zhu
杨秋健
Yang, Qiujian
Keywords: โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว
Yucieo School
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
การสื่อสารทางการศึกษา
Communication in education
โรงเรียนจีน -- ไทย
Chinese school -- Thailand
ภาษาจีน -- การพูด
Chinese language -- Speech
Issue Date: 2017
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: เนื่องจากจำนวนนักเรียนที่เรียนภาษาจีนในระดับชั้นประถมศึกษาตามโรงเรียนต่างๆ ในประเทศไทยมีเพิ่มจำนวนขึ้น โดยเฉพาะความต้องการและความเป็นที่นิยมของนักเรียนที่เรียนวิชาการพูดภาษาจีนในโรงเรียนจีนเพิ่มจำนวนสูงขึ้น จึงมีความจำเป็นที่จะศึกษาลักษณะพิเศษและความคุ้นเคยในการเรียนวิชาการพูดภาษาจีนของกลุ่มวัยก่อนวัยผู้ใหญ่ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการด้านการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ งานวิจัยชิ้นนี้ได้ใช้กลุ่มตัวอย่างของนักเรียนโรงเรียนอยู่เฉียวเซียะเสี้ยว ในการศึกษาวิเคราะห์ทักษะการสื่อสารภาษาจีน โดยเฉพาะสาเหตุที่นักเรียนที่เรียนวิชาการพูดภาษาจีน ไม่ยอมที่จะพูดภาษาจีนในรายวิชาการพูดภาษาจีน จากการศึกษาพบว่า ในปัจจุบันโรงเรียนจีนทั่วไปได้ใช้แบบเรียนภาษาจีน 3 ชุด เพื่อศึกษาถึงความเหมาะสมของแบบเรียนกับการเรียนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะของรายวิชาการพูดภาษาจีน จากผลการศึกษา พบว่า การออกแบบหัวข้อการพูดของแบบเรียน แรงจูงใจของครูผู้สอนกับนักเรียนเป็นสาเหตุหลักของปัญญาการเรียนวิชาการพูดภาษาจีนของนักเรียน ในการวิจัยดังกล่าวได้เปรียบเทียบหัวข้อที่ใช้ในการเรียนวิชาการพูดภาษาจีนจากแบบเรียนภาษาจีนทั้ง 3 ชุดกับหัวข้อที่นักเรียนสนใจ ได้ข้อสรุปแนวทางการแก้ปัญหาที่ค่อนข้างตรงกับประเด็นปัญหา ในการเรียนวิชาภาษาจีน ควรศึกษาสิ่งที่นักเรียนสนใจ เพื่อนำมาใช้อ้างอิงในการจัดทำวิธีการสอนตามหัวข้อที่นักเรียนสนใจในแผนการสอน
During the increasing of pupils who choose to study Chinese in all kinds of Thailand's schools and especially the soaring of learning passion of the pupils from Thailand's Chinese schools, it is pretty necessary to research spoken Chinese's teaching according to the pupils' characteristics and habits of learning to explore new teaching methods. Through analyzing the spoken Chinese courses of public Yuchieo School in Kanchanaburi Thailand and focusing on the reasons of holding their tongues when the pupils study in the Chinese classes, this paper mainly researches learning characteristics and habits suits for the pupils via collecting and analyzing the three series of Chinese books used by the Chinese school in Thailand. During the survey, the author finds that the topics of Chinese textbooks, their teachers and learning motivation and other subjective factors are the main obstacles for students to learn Chinese. The author collects the topics from the three series of textbooks from the Thailand's Chinese school and analyzes pupils' favorite topics and makes the certain conclusion. The author proposes the following teaching method. The teachers should start the topics' teaching according to the topics which can attract the pupils in the spoken Chinese classes and then provides answers of topic teaching method for reference.
随着泰国各类学校的小学生汉语学习人数的不断增加,尤其是华校学生学习汉语口语的热情高涨,有必要针对这些未成年人的学习特点和学习习惯来研究汉语口语教学,展开新的教学方法的探求。本文旨在通过对泰国北碧呈万公立育侨学校的汉语口语课程进行分析,针对小学生的汉语口语课堂不开口的原因,通过统计和分析目前华校普遍使用的三套汉语系列教材,来探讨适合小学生的学习特点的口语教学方法。 笔者调查中发现,汉语教材的话题设置、教师和学习动机等主观客观因素是小学生口语学习的主要障碍。笔者统计了华校使用的三套教材的话题,结合学生喜欢的话题进行了分析,并得出了有针对性的结论。在汉语口语教学课堂,提出需要根据学生的兴趣话题来开展话题教学法,然后给出话题教学法的参考教案。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2017
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/710
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yang-Qiujian.pdf13.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.