Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/711
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 李超 | - |
dc.contributor.advisor | Li, Chao | - |
dc.contributor.author | 于子琇 | - |
dc.contributor.author | Yu, Zixiu | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-22T07:02:10Z | - |
dc.date.available | 2022-09-22T07:02:10Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/711 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020 | th |
dc.description.abstract | ตามที่สถานภาพของประเทศจีนในระดับนานาชาติถูกพัฒนาและยกระดับขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความร่วมมือระหว่างประเทศจีนและประเทศไทยที่พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง นั่นทำให้คนไทยเริ่มมีความสนใจในการเรียนภาษาจีนเพิ่มขึ้นมาก และในปัจจุบันประเทศไทยมีโรงเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษากว่า 3,000 แห่ง ได้เปิดหลักสูตรการสอนวิชาภาษาจีนขึ้น โดยในประเทศไทยมีผู้ที่เรียนภาษาจีนประมาณ 1 ล้านคน การเรียนรู้ภาษาต่างๆ มีจุดประสงค์ คือ การพูดคุยติดต่อสื่อสารกัน โดยประโยคคำถามจะทำให้เกิดหัวข้อในการสนทนาและในประโยคคำตอบจะมีหน้าที่ทำให้การพูดคุยดำเนินต่อไปได้ วิทยานิพนธ์นี้ได้ศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับประโยคคำถามและประโยคคำตอบในการเรียนการสอน โดยในบทความได้เลือกหนังสือ "คนไทยเรียนภาษาจีน" มาศึกษา ซึ่งภายในหนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการพูดและหนังสือเล่มนี้ เหมาะสำหรับชาวไทยที่ศึกษาภาษาจีนโดยเฉพาะ โดยการวิจัยนี้ได้แบ่งหมวดหมู่รวบรวมสถิติและวิเคราะห์ประโยคคำตอบในหนังสือเล่มนี้ และการวิจัยนี้ ยังได้ทำแบบสอบถามที่ใช้ประโยคจากหนังสือเล่มนี้ โดยในแบบสอบถามการวิจัยนี้ได้ให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียนกวงฮั้ว จังหวัดระยอง ที่เคยใช้หนังสือเล่มนี้เรียน หลังจากนั้น การวิจัยนี้ได้รวบรวมข้อผิดพลาดในการทำแบบสอบถามและได้สรุปข้อผิดพลาดเหล่านั้น เพื่อนำมาแก้ปัญหาและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประโยคคำถามและประโยคคำตอบในภาษาจีน วิทยานิพนธ์นี้ได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ คำนำและเนื้อความภายในคำนำ มีการแนะนำประโยชน์และภูมิหลังของงานวิจัย ผลการวิจัยเรื่องประโยคคำถามและประโยคคำตอบในภาษาจีน เป้าหมาย วิธีการ และการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่จากการวิจัย ภายในเนื้อหามี 4 หัวข้อใหญ่ คือ 1) การรวบรวมสถิติและวิเคราะห์ระบบไวยากรณ์ ประเภทโครงสร้างประสิทธิภาพเกี่ยวกับประโยคคำถามที่มาจากหนังสือ "คนไทยเรียนภาษาจีน" 2) การรวบรวมสถิติและวิเคราะห์ประโยคคำตอบในหนังสือตามระบบความหมาย 3) การแนะนำจุดประสงค์และกลุ่มเป้าหมายของแบบสอบถาม การรวบรวมสถิติ วิเคราะห์ผลสรุปของแบบสอบถามนี้ และได้สรุปความผิดพลาดของกลุ่มเป้าหมาย 4) การเสนอความคิดเห็นจากการวิเคราะห์ รวบรวมสถิติ สรุปผล และเสนอวิธีการสอน | th |
dc.description.abstract | With the continuous improvement of China's international status, and the increasing connection and cooperation between China and Thailand, there is an upsurge of learning Chinese in Thailand. As we know, the most important purpose of learning a language is communication. Vital to this communication is the dynamic relationship between interrogative and response sentences whereby the former brings up important topics and the latter propagate that topic further. Therefore, interrogative sentences have been attached with great important since the primary stage of Chinese teaching as it initates the communication process and create topics to discuss. This paper is divided into two parts: introduction and text. The first part mainly introduces the background and significance of the topic, the related research results, as well as the purpose, methods, and innovation of this study. The second part consists of four chapters: In the first chapter, the author makes statistical analysis on the grammar system, structure type, and language function of the interrogative sentences in the three volumes of teaching materials - "Thai learn Chinese". The second chapter classifies and analyzes the semantic types of the answer sentences in the selected textbooks. The third chapter makes a brief introduction to the purpose and object of the questionnaire and makes a detailed statistical analysis of the results, so as to find out the causes of students' acquisition errors. Based on the first three chapters, the fourth chapter puts forward teaching strategies for classroom teaching, homework arrangement and testing after class. | th |
dc.description.abstract | 中国国际地位的不断提高和中泰两国交流的不断发展,使得泰国的汉语学习热潮方兴未艾。目前泰国有超过三千所中小学和一百余所大学开设了中文课程,汉语学习人数已超过一百万。学习一门语言,最重要的目的是将其用于交流和沟通。疑问句引起话题和应答句延续话题的作用在交流中尤为重要,疑问句的教学从教学的初级阶段起,就向来备受重视。 本文在研习对外汉语疑问句及应答句的前人研究成果后,选取了极为注重会话能力训练的、针对泰国母语学习者的国别化初级汉语系列教材——《泰国人学汉语》为研究对象,就教材中的疑问句及应答句进行了归类统计与分析,并使用其中的典型例句设计了调查问卷,对学习过这套教材的泰国罗勇府光华学校的中学生进行了问卷调查,由此得出了学生的习得偏误数据,之后,再通过对偏误成因的总结,形成了汉语疑问句及应答句的教学对策建议。 本文分绪论和正文两大部分。 第一部分的绪论主要介绍了选题的背景及研究意义、相关的国内外研究成果及本文研究的目的、方法、创新性等。 第二部分的正文共有四章: 第一章主要对《泰国人学汉语》共三册教材中的疑问句进行了教学语法体系、结构类型和语言功能三个方面的统计与分析; 第二章对所选教材中的应答句从语义类型上进行了归类统计与分析; 第三章对问卷调查的目的、对象等做了简单的介绍,并将问卷调查结果做了较详细的统计与分析,由此得出了学生的习得偏误成因; 第四章基于第一、二章对所选教材疑问句及应答句的统计分析结果和第三章总结的偏误成因,提出了针对课堂教学、课后作业布置和测试的教学对策。 | - |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | โรงเรียนกวงฮั้ว -- ไทย -- ระยอง | th |
dc.subject | Guanghua School -- Thailand -- Rayong | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน | th |
dc.subject | Chinese language -- Study and teaching | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การพูด | th |
dc.subject | Chinese language -- Speech | th |
dc.subject | 汉语 -- 学习和教学 | - |
dc.subject | 汉语 -- 口语 | - |
dc.title | 《泰国人学汉语》中的疑问句及应答句教学研究--以罗勇府光华学校为例 | th |
dc.title.alternative | การวิจัยประโยคคำถามและประโยคคำตอบกับวิธีการสอนในหนังสือเรียน "คนไทยเรียนภาษาจีน"-- กรณีศึกษาโรงเรียนกวงฮั้ว จังหวัดระยอง | th |
dc.title.alternative | Study on Interrogative Sentences Response Sentences and It's Teaching Strategies in the Textbook of Thai Learning Chinese Based on the Case Study of Guanghua School Rayong | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสอนภาษาจีน | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
YU-ZIXIU.pdf Restricted Access | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.