Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/714
Title: 泰国高校国际课程环境下基础阶段汉语教材的调查与研究—以泰国三所国立重点大学教材为例
Other Titles: การวิเคราะห์แบบเรียนภาษาจีนหลักสูตรนานาชาติของสถาบันการศึกษาไทย กรณีศึกษา แบบเรียนภาษาจีนที่ใช้ในมหาวิทยาลัยของรัฐ 3 แห่ง
A Study of Elementary Chinese Textbooks in Thai International University Programs Focusing on the National Key Universities
Authors: 李寅生
Li, Yinsheng
汉语 -- 对外教科书
张波
Zhang, Bo
Keywords: ภาษาจีน -- ตำราสำหรับชนต่างชาติ
Chinese language -- Textbooks for foreign speakers
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
汉语 -- 对外教科书
Issue Date: 2015
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: เป็นที่ทราบโดยทั่วไปว่า ตำราเรียนเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งของการเรียนการสอนภาษาจีน เป็นภาษาต่างประเทศ ตำราเรียนส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพและประสิทธิภาพของการเรียนการสอน ดังนั้น การศึกษาและวิจัยตำราเรียนภาษาจีนในปัจจุบันจึงถือว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่ง อีกประการหนึ่ง เนื่องจาก "กระแสโลกาภิวัฒน์" ในปัจจุบัน ส่งผลให้มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งของไทยได้นำแนวคิดการพัฒนาอุดมศึกษาไปสู่สากลมาใช้ บนพื้นฐานของแนวคิดดังกล่าว สถาบันอุดมศึกษาได้จัดตั้ง "หลักสูตรนานาชาติ" ขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตำราเรียนภาษาจีนหลักสูตรนานาชาติมีอยู่ไม่มาก ดังนั้น บนพื้นฐานของผลการศึกษาวิจัยก่อนหน้านี้ ผู้วิจัยได้ทำการสำรวจและศึกษาถึงสภาพการใช้ตำราเรียนภาษาจีนระดับต้น หลักสูตรนานาชาติในมหาวิทยาลัยของรัฐ 3 แห่ง งานวิจัยนี้ ได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบตำราภาษาจีนทั้งหมด 3 ชุด โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้ บทที่ 1 บทนำ บรรยายถึงภูมิหลังของการวิจัย สภาพการใช้ตำราเรียนภาษาจีนโดยทั่วไป โดยอาศัยการศึกษาสภาพการเรียนการสอนภาษาจีนของมหาวิทยาลัยทั้งสามแห่ง มากำหนดแนวทางการวิจัย ครั้งนี้ และได้นำตำราเรียนภาษาจีนที่ใช้ในมหาวิทยาลัยทั้งสามแห่งมากำหนดแนวทางการวิจัยครั้งนี้ และได้นำตำราเรียนภาษาจีนที่ใช้ในมหาวิทยาลัยทั้งสามแห่งในปัจจุบัน อันได้แก่ "Hanyu Jiaocheng" "Boya Hanyu" และ "Integrated Chinese" เป็นตัวศึกษาวิจัย บทที่ 4 การเปรียบเทียบตัวบท โดยอาศัยวิธีการวิจัยข้างต้น ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาและเปรียบเทียบตัวบทของตำราทั้ง 3 ชุด ในด้านความยาว เนื้อหา รูปแบบและหัวข้อของตัวบทโดยละเอียด สรุปข้อดีและข้อด้อยของตำราทั้ง 3 ชุด และนำเสนอข้อเสนอแนะความเห็นของผู้วิจัย บทที่ 3 การเปรียบเทียบไวยากรณ์ ศึกษาเปรียบเทียบตำราทั้ง 3 ชุดในประเด็นของ หัวข้อเนื้อหาไวยากรณ์ และวิธีการจัดลำดับเนื้อหาไวยากรณ์ การเลือกหัวข้อไวยากรณ์และการเรียงลำดับเนื้อหาความยากง่ายของไวยากรณ์ บทที่ 4 การเปรียบเทียบแบบฝึกหัด คำศัพท์และเนื้อหาด้านวัฒนธรรม ผู้วิจัยทำการศึกษาจุดเด่นและจุดด้อยของตำราทั้งสามชุดในเชิงลึก ชี้ให้เห็นถึงข้อบกพร่องและจุดเด่นในแบบฝึกหัด คำศัพท์ของตำราเรียนทั้ง 3 ชุด บทที่ 5 : บทสรุป สรุป ทบทวน ผลการศึกษาวิจัยทั้งหมดในภาพรวม
As we know, the role of textbook for Chinese as Foreign language is very pivotal, it directly affects the quality and efffect of teaching, so that research and survey of Chinese Textbooks are absolutely necessary. In addition, according to the development of "globalization", Thai universities have offered international program to students by the concept of "internationalising higher education". Yet the research findings under the background are still not enough, therefore, the author based on previous studies, make further research the textbooks used in three of the most prestigious universities in Thailand. This article compares three Chinese textbooks. On the one hand, Hanyu Jiaocheng 《汉语教程》 and Boya Hanyu 《博雅汉语》 are well known as general textbooks, they both come from the authority of TCFL in China, on the other hand, Integrated Chinese 《中文听说读写》 is Country-- specific Chinese Language Textbook, and its is most widely-adopted Chinese textbook in the USA. The compare of three textbooks found various shortages and featages and features of each book by numerous aspects, furthermore, the author also obtained feedbacks from both students and teachers in international programs by questionnaire. Finally proposed constructive suggestions on Chinese textbook compilation for Thai international program, hopefully, the articles can provide reference and help on Country--specific Chinese Language Textbook in Thailand.
众所周知,教材是对外汉语教学的重要环节之一,它直接影响到教学质量与效果,因此,对现有汉语教材的调查与研究是完全必要的。另一方面,伴随着当前“全球化”的发展趋势,泰国各高校纷纷导入了高等教育国际化的理念,并在此基础上开设了“国际课程”。然而,针对国际课程环境下的汉语教材的调查与研究成果还不多,因此,本文在前人研究的基础上,对汉语初级阶段综合教材在三所国立大学国际课程中的使用情况作了进一步的调查和研究。 本论文对三套教材进行了比较研究,共分为五部分: 第一章 绪论:主要论述本文的研究背景,即泰国汉语教材基本情况以及泰国高校国际课程环境下汉语教材的现状。通过对三所大学汉语教学的调查,确立了本文的研究方向,并选择三所大学现行的《汉语教程》、《博雅汉语》和《中文听说读写》为研究对象,以文献研究法、定量研究法和比较归纳法对教材进行了深入研究。此外,在文献综述的基础上,笔者提出了本研究的创新点:研究涉及领域较新,对特殊环境下汉语教材的思考,弥补泰国高校国际课程背景下汉语教材的研究空白。 第二章 课文比较:通过上述研究方法,笔者首先对三套教材的课文部分进行了比较研究。在对课文的长度、内容以及课文的体裁和题材等方面进行详细的对比后,总结三套教材各自的优缺点,最后提出自己的建议和意见。 第三章 语法比较:从语法项目、语法点编排策略和语法释义等角度对三套教材进行比较分析,分别从语法总量、语法项目选择、语法等级以及语法项目的排序等方面进行比较分析,吸收三套教材的优点,弥补各自的不足,结合泰国高校国际化环境,对初级汉语教材的编写提出了几点建议。 第四章 对练习、生词和文化因素的比较:笔者进一步深入研究探讨三套教材各自特点与不足,指出三套教材在练习和生词部分的优点及不足,特别指出了《中文》文化因素上优于其他两套教材的特点,并提出了自己的建议。 第五章 最后的结论和总结:整体回顾,总结全文研究工作。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/714
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ZHANG-BO.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.