Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/716
Title: | 泰国汉语教师本土化培养模式及发展研究 |
Other Titles: | การวิจัยสำรวจและพัฒนาวิธีการฝึกอบรมครูสอนภาษาจีนในประเทศไทยให้มีความสอดคล้องกับบริบทของไทย Research of Exploratory and Development of Localization Training Methods for Chinese Language Teachers in Thailand |
Authors: | 李志艳 Li, Zhiyan 张帆 Zhang, Fan |
Keywords: | ครูภาษาจีน -- ไทย Chinese teachers -- Thailand ครู -- การฝึกอบรม -- ไทย Teachers -- Training of -- Thailand 中文老师 -- 泰国 教师 -- 培训 -- 泰国 |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | ครูสอนภาษาจีนถือเป็นปัจจัยสำคัญในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาประเด็นการส่งเสริมครูในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย โดยการสำรวจสภาพความเป็นจริงของการเรียนการสอนภาษาจีน ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู ด้วยวิธีแนวคิด และการสรุปผลจากวิชาพฤติกรรมองค์การ จากผลสรุปพบว่า การให้คำจำกัดความคำว่าครูสอนภาษาจีนมีอาชีพประจำท้องถิ่นไม่เพียงขึ้นกับสัญชาติของตัวครูเท่านั้นยังต้องให้ความสำคัญว่าอาชีพครูสอนภาษาจีนมีความมั่นคงและยั่งยืน และมีแผนการดำเนินวิชาชีพครูสอนภาษาจีนตลอดชีพหรือไม่ การวิจัยครั้งนี้ ลงรายละเอียดในการสำรวจสภาพความเป็นจริงของระบบการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อศึกษากระบวนการทำงานและการอบรมครูให้ลึกซึ้งมากขึ้น การวิจัยครั้งนี้ได้เปรียบเทียบกลุ่มครูชาวไทยและครูชาวจีนหรือครูอาสาสมัครชาวจีน พบว่า ครูทั้งสองกลุ่มยังไม่ค่อยพึงพอใจกับการพัฒนาวิชาชีพ การอบรม รายได้และเวลาการทำงานที่สูงของครู นอกจากนี้ ยังประสบปัญหาความไม่มั่นใจในคุณภาพการสอนของตนเอง การวิจัยครั้งนี้ได้สัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศไทยและพบปัญหาทางด้านนโยบาย จึงเสนอให้แก้ไขปัญหาด้วยการยกระดับความสำคัญของวิชาภาษาจีน ยกระดับฐานะครูและสนับสนุนปัจจัยต่างๆ ให้แก่อาชีพครูด้วย การวิจัยครั้งนี้ ยังเสนอให้ใช้รูปแบบ UGS เพื่อส่งเสริมครูสอนภาษาจีนในประเทศไทย ซึ่งรูปแบบนี้จะให้ความสำคัญในความร่วมมือระหว่างรัฐบาลมหาวิทยาลัยและสถาบันต่างๆ ทางด้านการอบรมครู รัฐบาลจะรับผิดชอบเรื่องนโยบายส่งเสริมการพัฒนาครู มหาวิทยาลัยรับผิดชอบการเรียนการสอนภาษาจีน และสรุปประสบการณ์การเรียนการสอน ความร่วมมือระหว่างสามฝ่ายอย่างจริงจัง จะสามารถส่งเสริมครูสอนภาษาจีนอย่างมีประสิทธิภาพและยกระดับคุณภาพของครูสอนภาษาจีนอย่างแท้จริง Chinese teacher is a pivotal aspect in the process of Chinese language education. The study aimed to investigate the issue of the localization of Chinese teachers in Chinese education in Thailand. This study was designed from the Organization Behavior's methodology, cognition and conclusion, which to define professional Chinese teachers form the teachers' long-term stable career plans or their life long plan for Chinese education, but not its natinality. This study explored virtual Chinese education and the policy authorities in Thailand. Local Thai teachers and Native/volunteered Chinese teachers are comparative study groups. The results showed that they dissatisfied with career development, training, salary and work intensity, while their self-confidence in teaching and quality were insufficient. Thus, the researcher accorded with the policy development and proposed challenges on status of Chinese Courses, teachers and social resources, to improve the localization of Chinese teachers in Thailand by interviewing the relevant competent authorities. The study adopted UGS model and indicated suggestions to enhance the localization development of Chinese teachers in Thailand. The government, universities and (community) school should play roles and cooperate well; the government should straighten out the policy and support long-term development for Chinese teachers; the University should update research results, offer training chances and policy suggestions; schools should provide ample teaching opportunities and feedbacks. They should play role well on each other to achieve high-quality expectation of teacher training. 汉语教师是汉语教育开展过程中的关键因素,本文研究的重点在于泰国汉语教育中的汉语教师本土化问题。首先基于泰国实际的汉语教育开展情况,借鉴使用了部分组织行为学对于职业生涯规划方面的研究方法、思路和结论,从汉语教师职业稳定性的角度出发,对泰国本土化的汉语教师定义进行了阐述,确定泰国汉语教师本土化的定义应该不仅以国籍为本土化的分类标准,而更应该关注教师是否在泰国有长期稳定的职业发展计划,能够将汉语教育作为自己的终身职业。具体研究方面,重点从泰国汉语教师和制定泰国汉语教师政策的主管部门两个视角出发,研究泰国汉语教师的现状。为更深入了解泰国本土汉语教师的工作和培养情况,本研究进行了大量的调查问卷、访谈调研。在研究中,将泰国本土的汉语教师与从中国来泰国从事汉语教育的教师、志愿者作为对比研究组,从汉语教师的视角发现其在职业发展道路、教育培训机会、薪资待遇水平与工作强度方面满意度相对不高,并且还发现,泰国汉语教师在教学效果和质量方面的自信心也不足。 在此基础上,研究人员访谈了泰国教育部的相关主管部门,从政策制定的角度思考泰国汉语教师本土化的主要阻碍,并提出汉语课程地位、汉语教师地位、社会资源支持等方面的问题。 在此基础上,本研究提出借用 UGS 模式以更好的支持泰国汉语教师本土化发展的建议。具体提出,泰国的汉语教师培养应当更加注重政府、大学、(社区)学校的合作,在汉语教师培养当中,三者各自承担自身的角色,政府负责制定相关政策,支持汉语教师长期发展;大学提供最新研究结果、长期的职业培训机会和政府政策建议;学校提供大量的教学机会,并反馈实际教学经验。通过三者有机合作,有效承担教师培养的职责来实现汉语教师的高质量培养。 |
Description: | Thesis (D.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2019 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/716 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ZHANG-FAN.pdf Restricted Access | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.