Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/723
Title: 新加坡小学一年级华文教材《小学华文》 和《欢乐伙伴》对比分析
Other Titles: เปรียบเทียบแบบเรียนภาษาจีน Xiao Xue Hua Wen และ Huan Le Huo Ban นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1 ของประเทศสิงคโปร์
A Comparative Analysis of the Chinese Textbooks Xiao Xue Hua Wen and Huan Le Huo Ban for Primary 1 Students of Singapore
Authors: 肖瑜
Xiao, Yu
周亚
Zhou, Ya
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
汉语 -- 学习和教学 (小学)
Chinese language -- Study and teaching (Primary)
ภาษาจีน -- ตำราสำหรับชนต่างชาติ -- สิงคโปร์
นักเรียน -- สิงคโปร์
Students -- Singapore
汉语 -- 外国人教科书 -- 新加坡
学生 -- 新加坡
Issue Date: 2017
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 现代社会国与国之前的交流日趋频繁。地处东亚腹地的中国和新加坡在建交的数十年间在政治、经济、文化、等方面进行了非常广泛的交流。从2007 年开始,新加坡教育部对现行的华文教育进行改革。改革的核心之一就是教材的更新,以及与之相适应的教学、评估制度和标准的革新。关于这次改革,事前曾进行过大量的研究论证,相关的研究还不多见。本文本着科学的态度,从这次改革的教材入手,从实证的角度对这次改革的可行性及有效性进行分析,以此来研究新加坡目前所推行的高级华文教育中增加的深广模块对深化和拓展华文教育的有效性。为了更加充实研究的内容,提升研究的科学性,本研究采用了实证的方法。具体来讲,就是通过《小学华文》和《欢乐伙伴》对比来考察此次新加坡华文教育改革中教材改革的成效。本文共分为五章,第一章介绍选题背景和价值,以及新加坡华文学习现状。第二章分析《小学华文》和《欢乐伙伴》编写理念和目标。第三章分析《小学华文》和《欢乐伙伴》教材图片、板块和结构。第四章分析教材内容和编排对比。第五章是本文的总结,并提出了对于在海外使用新加坡教材的汉语教师教学建议。本文从两本教材的内容、教学理念、教材板块和教材对比来进行分析和比较。通过笔者的分析,认为《欢乐伙伴》在日常生活方面更贴近学生的实际生活,学生也就更感兴趣。
ประเทศจีนและประเทศสิงคโปร์มีการแลกเปลี่ยนกันทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมในด้านต่าง ๆ เพื่อการสร้างสัมพันธ์ทางการทูตที่ดีในป ศค. 2007กระทรวงศึกษาธิการของประเทศสิงคโปร์ได้มีการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาจีนเพื่อให้ทันต่อการพัฒนาการเรียน การสอนภาษาจีนภายในประเทศโดยเริ่มจากการปรับปรุงแบบเรียน การจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลสำหรับการปฏิรูปในครั้งนี้มีผู้ศึกษาวิจัยไว้อย่างมากมายแต่หลังจากที่มีการส่งเสริมงานวิจัยกันอย่างแพร่หลายทำให้ไม่ค่อยพบงานวิจัยที่เกี่ยวข้องงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยเริ่มต้นจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบเรียนภาษาจีน Xiao xue huawen และแบบเรียน huan le huo ban โดยเนื้อหางานวิจัยแบ่งออกเป็น 5 บท คือการแนะนำการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของประเทศสิงคโปร์ การวิเคราะห์การใช้แบบเรียน xiaoxue hua wen และแบบเรียน huan le hou ban การวิเคราะห์โครงสร้างแบบเรียนการวิเคราะห์เนื้อหาภายในบทเรียน และสรุปผลการวิจัย ทั้งนี้ผู้วิจัยได้เสนอแนะเกี่ยวกับการใช้แบบเรียนทั้งสองเล่มเพื่อให้ครูผู้สอนภาษาจีนในประเทศสิงคโปร์ได้นำไปใช้กับนักเรียนได้อย่างเหมาะสมจากผลการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยพบว่าแบบเรียน huan le huo banจะมีความเหมาะสมใกล้เคียงกับชีวิตประจำวันของนักเรียนชาวสิงคโปร์มากกว่าแบบเรียน huan le huoban อีกทั้งนักเรียนยังให้ความสนใจกับแบบเรียน huan le huo ban มากกว่า
In order to adapt to the new situation of the development of Chineseeducation in Singapore, the Ministry of education of Singapore has reformed thecurrent Hua Wen education since 2007. In order to enrich the content of theresearch and enhance the scientific nature of the research, this study adopts theempirical method. Specifically, it is through the "primary school Chinese" and "joypartners" to compare the effectiveness of the reform of the Chinese teaching reformin Singapore.This paper is divided into five chapters. The first chapter introduces the backgroundand value of the selected topic, and the present situation of Chinese learning inSingapore. The second chapter analyzes the writing ideas and goals of the Chineselanguage and the joy of the primary school, the first section outlines the "elementaryschool Chinese" and "joy partners" two teaching materials, the analysis of theconcept of writing the second section, the third section analyzes the teachingobjectives. The fourth chapter is the arrange of the textbook. The fourth chapter isthe conclusion of this paper, and puts forward some suggestions for the teaching ofChinese teachers in Singapore.
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2017
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/723
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ZHOU-YA.pdf7.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.