Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/737
Title: | 泰国汉语语法教材之比较研究——以《初级汉语语法》、 《比较汉语语法》、《现代汉语语法》为例 |
Other Titles: | การวิเคราะห์เปรียบเทียบหนังสือไวยากรณ์จีนในประเทศไทย : กรณีศึกษา หนังสือไวยากรณ์จีนระดับต้น ไวยากรณ์จีนฉบับเปรียบเทียบ และหลักไวยากรณ์จีน A Comparative Analysis of Chinese Grammar Textbooks in Thailand : A Case Study of "A Primary Chinese Gramma" and "A Modern Chinese Grammar" |
Authors: | 田春來 Tian, Chunlai 林萍萍 วัชญา มุขธนสมบัติ |
Keywords: | ภาษาจีน -- ไวยากรณ์ Chinese language -- Study and teaching Chinese language -- Grammar, Comparative ภาษาจีน -- ตำราสำหรับชนต่างชาติ Chinese language -- Textbook for foreign speakers ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน 汉语 -- 语法 汉语 -- 对外教科书 汉语 -- 学习和教学 |
Issue Date: | 2016 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | ไวยากรณ์จีนมีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการเรียนการสอนภาษาจีนขั้นพื้นฐาน ปัจจุบันการเรียนภาษาจีนในประเทศไทยมีการส่งเสริมให้นักเรียนมีความรักและยอมรับภาษาจีนมากขึ้น ครูและนักเรียนในประเทศไทย นำตำราไวยากรณ์ระดับต้นมาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงที่สำคัญสำหรับการเริ่มต้นเรียนรู้ภาษาจีน ดังนั้นการศึกษานี้เป็นการช่วยทำให้นักเรียนไทยเข้าใจถึงข้อดีและข้อเสียในการวิเคราะห์จำแนกตำราแต่ละประเภทและค้นพบตำราที่มีความเหมาะสมต่อการเรียนรู้ภาษาจีนของตนเองที่จะช่วยยกระดับการเรียนรู้ไวยากรณ์จีนระดับต้นของพวกเข้า การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นกรณีศึกษาจากหนังสือไวยากรณ์จีนระดับต้นสามเล่มที่ตีพิมพ์จากสำนักพิมพ์ไทยประกอบด้วยผู้แต่งชาวไทยและชาวจีนโดยศึกษารายการไวยากรณ์จีนและวิธีการจัดการ เนื้อหาของหนังสือเหล่านี้เพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ในเป็นข้อมูลอ้างอิงต่อไป วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีเนื้อหาแบ่งออกเป็น ห้าบทดังนี้ บทที่หนึ่ง คือ การแนะนำ ซึ่งอธิบายถึงที่มาในการเลือกหัวข้อการวิจัย จุดมุ่งหมาย รวมทั้งเครื่องมือและขั้นตอนในการวิจัย บทที่สองคือการสำรวจปัญหาของรายการไวยากรณ์ที่เลือกมาจากหนังสือทั้งสามเล่ม บทที่สาม คือ การอธิบายการจัดการลักษณะเด่นของเนื้อหาและการศึกษาเปรียบเทียบของหนังสือทั้งสามเล่ม บทที่สี้คือการนำเสนอข้อชี้แนะและความคิดเห็นที่มีต่อหนังสือทั้งสามเล่ม บทที่ห้าคือบทสรุป โดยจะสรุปเนื้อหาหลัก และบทสรุปของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงถึงความแตกต่างในการจัดการของหนังสือไวยากรณ์จีนแต่ละเล่มในด้านปริมาณไวยากรณ์ เนื้อหาของรายการไวยากรณ์และการจัดเรียงไวยากรณ์รวมทั้งข้อเสนอแนะ เนื่องจากหนังสือแต่ละเล่มมีผู้แต่งต่างกัน ดังนั้น ไวยากรณ์จีนที่เลือกใช้จึงไม่สอดคล้องกัน การศึกษานี้พบกว่าหนังสือทั้งสามเล่มมีลักษณะเฉพาะของตัวเองและยังปรากฏปัญหาของหนังสือแต่ละเล่มอีกด้วย Chinese Grammar is very important to basic Chinese Learning. Nowadays, learning Chinese Language in Thailand has been promoted to be more acceptable for students. Both students and teachers in Thailand use basic Grammar as the important reference for Chinese Learning Threshold. Therefore, this education will make Thai students understand the pros and cons in analyzing on each textbook and find the suitable textbook for their own learning to enhance their basic Chinese Grammar. This research in the case study from three basic Chinese Grammar textbooks that are published from Thai publisher that consists of Thai and Chinese authors by studying the Chinese Grammar and content management to apply as the reference. The paper is divided into five chapter: The first chapter is the introduction; the second chapter is the exploration of grammar items selection problems in this three textbooks; the third chapter describes the arrangement of three materials from features and comparison; the fourth chapter is three textbooks proposed some suggestions and opinions; the fifth chapter is the conclusion of this paper. The result from this research represents the differences from Chinese Grammar textbooks management by Grammar quantity, contents and arrangement, including the recommendation because each textbook is written by different author. Therefore, the selected Grammars are different. This research informs that teach of three textbooks has unique theme and shows the problem in each textbooks. 汉语教学的基础是取决于汉语的语法,也是汉语教学一个非常重要的中心环节。目前泰国推广的汉语教育越来越受学生的喜爱和接受,泰国的老师和学生皆使用初级汉语语法作为教材以及开始学习汉语的重要参考资料。泰国学习者对各种各样的教材进行对比分析,使得他们了解各种教材的优缺点,并找到适合自己的汉语学习教材,有助于提高他们学习初级汉语语法的效率。 本文以三本泰国出版的汉语语法教材作为研究资料,分别是泰国人编写的教材和中国人编写的教材。泰国汉语教学中有关汉语语法教材为语法项目的编排提供参考依据。全文分为五章:第一章绪论,介绍本文选题的背景、研究对象以及研究的主要材料、工具及方法;第二章探讨三本教材中语法项目的选取问题;第三章分别阐述了三本教材编排的特点并进行比较:第四章是对三本教材提出一些建议和意见;第五章是结语,总结了本文的主要内容和结论。 本文的研究结果提出了各本汉语语法教材对于语法量、语法项目内容和语法编排的差异以及建议,由于各本有不同的编写者,汉语语法的选用也是不一致。我们发现这三本教材均有各自独特之处,也有各自不足的地方,供学习者们根据喜好选择参考。 |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/737 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vatchaya-Mookthanasombat.pdf Restricted Access | 3.71 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.