Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/743
Title: | 泰国高中生汉字笔顺偏误及汉字教学策略 |
Other Titles: | The Study of the Upper Secondary Student's Mistake on Orderly Writing Chinese Character Stroke Pattern and the Methodology of Chinese Character Stroke Teaching การศึกษาการเขียนลาดับขีดตัวอักษรจีนที่ไม่ตรงตามรูปแบบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและรูปแบบวิธีการสอนตัวอักษรจีน |
Authors: | 李寅生 Li, Yinsheng 黄美兰 วิวรรณรักษ์ นวอนันต์สกุล |
Keywords: | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Chinese language -- Study and teaching (Secondary) Chinese characters -- Study and teaching ตัวอักษรจีน -- การศึกษาและการสอน ภาษาจีน -- การเขียน Chinese language -- Writing 汉语 -- 写作 汉语 -- 学习和教学 (中学) 汉字 -- 学习和教学 |
Issue Date: | 2015 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | ภาษาจีนถือเป็นภาษาที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานและยังเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก ดังนั้นภาษาจีนจึงเป็นภาษาที่คนใช้กันมาที่สุดอีกด้วย ในปัจจุบันโรงเรียนหลายแห่งในประเทศไทยก็ได้เปิดสอนรายวิชาภาษาจีนเพิ่มมากขึ้น นักเรียนที่เรียนภาษาจีนนับวันก็ยิ่งเพิ่มจำนวนมากขึ้น ด้านการเรียนการสอนภาษาจีน นักเรียนส่วนใหญ่คิดว่าภาษาจีนเป็นภาษาที่ยาก โดยเฉพาะตัวอักษรจีน การเขียนลำดับขีดตัวอักษรที่จะต้องเขียนตามกฎเกณฑ์การเขียนที่ถูกต้อง ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากสำหรับผู้ที่เริ่มเรียนภาษาจีน กฎเกณฎ์การเขียนตัวอักษรจีนที่ถูกต้อง คือ จากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา เขียนด้านในก่อนแล้วค่อยเปิด กฎเกณฑ์เหล่านี้เป็นสิ่งที่นักเรียนมักจะละเลย ในฐานะครูผู้สอนที่สังเกตจากแบบฝึกหัด การสอบเขียนนำลำดับขีด ผู้เขียนพบว่า การเขียนลำดับขีดของนักเรียนยังมีปัญหาอีกมากและยังไม่ถูกต้องตามแบบการเขียนที่ถูกต้อง ผู้เขียนได้ใช้วิธีการสังเกต สอบถาม การเรียนภาษาจีนของนักเรียน วิธีการเรียนภาษาจีนของนักเรียน สร้างแบบทดสอบการเขียนลำดับตัวอักษรจีน วิเคราะห์การเขียนลำดับขีดที่ไม่ตรงตามรูปแบบการเขียน หลังจากนั้นสรุปสาเหตุของการเขียนลำดับขีดตัวอักษรจีนที่ไม่ตรงตามรูปแบบ เสนอแนะวิธีและรูปแบบการสอนลำดับขีดตัวอักษรจีน โดยให้นักเรียนเข้าใจลักษณะเด่นของตัวอักษรจีน ส่วนประกอบของตัวอักษรจีน ความหมายของตัวอักษรจีน แล้วเพิ่มแบบฝึกฝนเพื่อเพิ่มทักษะการเขียนตัวอักษรจีนให้ถูกต้อง In the current time, Chinese language becomes more important because it has been spoken and communicated for the longest time in the history of the humankind. Nowadays, Chinese language subjects have been taught in many private and public schools in Thailand. Most Thai students who study Chinese language subject always think that Chinese language is very difficult; especially, Chinese characters, Chinese Stroke Order. According to the grammatical rule, both of them must be written with the strict regulation of the Chinese Stroke; from the top to the bottom, from the left to the right and from the inside to the outside. Consequently, the students always neglect on this complicate principle of the language. Certainly, the teachier as the researcher has realized on this serious mistakes and found out that there are many problems on Chinese Stroke Order. The researcher applied observation and questionnaire methodology to find out Chinese language learning strategies of the students. In additions, the researcher created the Chinese Stroke Order Test and analyzed the mistakes of Chinese Stroke Order. After researching and analyzing the mistakes and suggest the method and style of Chinese Stroke Order by instructing the students to understand the distinguished Chinese characters, the components of Chinese characters and increasing the exercise to enhance the skills of Chinese characters' Stroke. 汉字是世界上历史最悠久的一种独立发展的文字。由于中国拥有世界上最多的人口,因此汉字是世界上使用人数最多的文字符号体系。近年来泰国很多学校都开设了汉语课程,学习汉语的学生也越来越多。在汉语教学的过程中,很多学生总会觉得汉语很难学,尤其是汉字笔顺,要依照顺序书写,并逐字记忆,这对于学习者来说特别困难。众所周知,汉字笔画遵循先上后下、先横后竖、先撇捺、先内后外的规律,这个规律学生总是容易忘记。经调查发现,即使汉语交际能力较好的泰国学生,在汉字书写方面也存在很多问题。通过对学生作业、上课反馈情况和考卷的分析发现,泰国学生汉字学习中的偏误比较集中地反映在错别字方面。 本文首先介绍了选题缘由、研究现状、研究目的与意义、研究对象与研究方法、本文创新之外。再阐述了对外汉语汉字教学综述、汉字笔顺教学理论、汉字书写笔顺习得研究现状、教学原则与教学目的。接着从调查入手对泰国高中生汉字笔顺偏误情况的研究,从汉字笔画、汉字部件、汉字间框结构、汉字笔顺做了试卷,然后,对调查的结果进行分析,找出学生在汉字书写笔顺上产生偏误的原因,最后提出汉字笔顺教学策略,培养学生写出正确的汉字、熟练的汉字。具体过程是,先让学生了解笔画的特点,熟悉笔顺和汉字的结构并了解每个汉字的意思,然后通过练习强化学生的笔画意识,汉字书写偏误就会大大减少。 |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/743 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WIWANRAK NAWA-ANANSAKUL.pdf Restricted Access | 3.14 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.