Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/747
Title: 泰语动词 lɛ́ɛw paj maa jùu dâj 的语法化研究及教学策略
Other Titles: กระบวนการกลายเป็นคำไวยากรณ์ของคำ "แล้ว" "ไป" "มา" "อยู่" "ได้" และวิธีการสอนคำเหล่านั้น
Grammaticalization of Thai Verb lɛ́ɛw paj maa jùu dâj and Teaching Strategies
Authors: 田春來
Tian, Chunlai
泰语 -- 语言使用
田野.
Tian, Ye
Keywords: ภาษาไทย -- ไวยากรณ์
Thai language -- Grammar
ภาษาไทย -- คำกริยา
Thai language -- Verb
ภาษาไทย -- การใช้ภาษา
Thai language -- Usage
ภาษาจีน -- ไวยากรณ์
Chinese language -- Grammar
汉语 -- 学习和教学
汉语 -- 语法
泰语 -- 动词
泰语 -- 语法
Issue Date: 2019
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ในการจัดทำวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ก่อนอื่นผู้วิจัยต้องขอย้อนไปถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์ อีกทั้งประสิทธิผลหลักของการศึกษาวิจัยกระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์ในภาษาไทย ต่อมาได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย และผู้วิจัยได้คัดเลือกคำกริยาบางคำในภาษาไทยยุคปัจจุบัน เช่น คำว่า "แล้ว" "ไป" "มา" "อยู่" และ "ได้" ที่มีการกลายเป็นรูปไวยากรณ์ในระดับที่สูงมาเป็นกรอบของการวิจัยในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ประการต่อมายังจัดทำกระบวนการของงานวิจัยที่สำคัญประการหนึ่ง ผู้วิจัยไม่เพียงแต่นำข้อมูลภาษาไทยยุคปัจจุบันมาวิเคราะห์ อีกทั้งยังได้สะสางและจัดกระบวนการที่ครบถ้วนของหน้าที่ทางไวยากรณ์ของคำกริยาในภาษาไทยข้างต้นใหม่จากมุมมองแบบข้ามสมัย วิทยานิพนธ์ได้แบ่งข้อมูลออกเป็น 3 ส่วนสำคัญ ดังนี้ ส่วนสำคัญส่วนที่หนึ่ง ย้อนกลับไปถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์ อีกทั้งผลการวิจัยบางประการของกระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์ของการศึกษาวิจัยกระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์ของคำกริยาในภาษาไทย ส่วนที่สอง กล่าวถึง กระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์และหน้าที่ทางไวยากรณ์ที่สอดคล้องกันของคำกริยาภาษาไทยคำว่า "แล้ว" "ไป" "มา" "อยู่" และ "ได้" ในเชิงความหมายที่สมบูรณ์แบบ ส่วนที่สาม รวบรวมทฤษฎีกระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์กับการสอนภาษาจีนสำหรับชาวต่างชาติ อธิบายเหตุผลและผลลัพธ์บางประการที่พบได้บ่อยในหน้าที่ของกระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์ วิเคราะห์การบรรลุเป้าหมายของกระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์ บนพื้นฐานข้อมูลนี้ ผู้วิจัยได้พยายามทดลองและคิดค้น
This paper first reviews the relevant theories of grammaticalization and the main achievements of grammaticalization research in Thailand in turn, determine the research target, chose the modern Thai several high degree of grammaticalization of verbs in lɛ́ɛw paj maa jùu dâj as the research object of this article. Another important task of this paper is not only to analyze the corpus of modern Thai language, but also to make a comprehensive review of the grammatical functions of the above Thai verbs from a diachronic perspective. In addition, this paper also combines grammaticalization theory with teaching Chinese as a foreign language. At present, the study of grammaticalization has become a hot topic, because grammaticalization itselfs reflects the grammaticalization in teaching Chinese as a foreign language have not been well used by the majority of teachers. Therefore, on the basis of summarizing, comparing and analyzing the previous research results of Chinese grammaticalization, and combining with the research results of Thai verb grammaticalization, this paper tries to put forward some thoughts and suggestions on how to optimize the teaching process by referring to and utilizing the research results of Chinese grammaticalization in teaching Chinese as a foreign language. The first part mainly reviews the related theories of grammaticalization and some research results of Thai verb grammaticalization. After the second part discusses the Thai righteousness verb "lɛ́ɛw paj maa jùu dâj" grammaticalization path as well as the corresponding grammatical functions. The third part mainly tries to combine grammaticalization theory with teaching Chinese as a foreign language, tries to explain the reasons of grammaticalization from several common grammaticalization functions, analyzed its realization path, and makes some attempts and reflections on this basis.
本文首先回顾了语法化的相关理论,以及泰国语法化研究的主要成果。进而确定了研究目标,选择了现代泰语中几个语法化程度高的动词 lɛ́ɛw、paj、maa、jùu、dâj 作为本文的研究对象。 本文所做的另一项重要工作是,不仅仅对现代泰语的语料进行了分析,而且从历时的角度对上述泰语动词的语法功能进行了全面的梳理。 除此之外,本文还将语法化理论与对外汉语教学进行了结合。就目前来看,学界对语法化问题的研究已经成为一个热门话题,因为语法化本身反映了一种语言中历史的演变问题。故此,本文试图总结、比较、分析前人汉语语法化研究成果的基础上,结合泰语动词语法化的研究成果,试图对对外汉语教学工作中参考、利用汉语语法化研究成果优化教学过程提出思考和建议。 全文主要分为三个主要部分: 第一部分主要回顾了语法化的相关理论以及泰国对于泰语动词语法化的一些研究成果。 第二部分讨论了泰语完毕义动词 “lɛ́ɛw”、“paj”、“maa”、“jùu”、“dâj” 的语法化路径以及相应的语法功能。 第三部分主要试图将语法化理论与对外汉语教学相结,试图从几种较为常见的语法化功能解释其原因,分析其语法化的实现路径,并在此基础上做了一些尝试和思考。
Description: Thesis (D.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2019
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/747
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TIAN-YE.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.