Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/774
Title: | 初中级阶段泰国学生汉语连动句习得偏误分析及教学设计----以罗勇公立光华学校为例 |
Other Titles: | ศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้คำเชื่อมกริยาในประโยคพื้นฐานของนักเรียนไทยในโรงเรียนกวงฮั้ว จังหวัดระยอง The Error Analysis in the Use of Verbal Conjunction in Simple Sentences of Thai Students in Guanghua School, Rayong Province |
Authors: | 李寅生 Li, Yinsheng 唐白翎 Tang, Bailing |
Keywords: | โรงเรียนกวงฮั้ว -- ไทย -- ระยอง Guanghua School -- Thailand -- Rayong ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน Chinese language -- Study and teaching ภาษาจีน -- ไวยากรณ์ Chinese language -- Grammar 汉语 -- 语法 汉语 -- 学习和教学 光华学校 -- 泰国 -- 罗勇 |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | 汉语的连动句是现代汉语特殊句式之一, 它既是现代汉语研究的重点, 也是对外汉语教学的难点. 在汉语作为第二语言教学领域中, 连动句的研究尚不充分, 尤其是针对泰国学生的研究更是少之又少. 因此, 本论文以初中级阶段泰国学生为研究对象, 借助中介语语料库资源, 搜集初中级阶段泰国学生使用连动句的语料, 采用统计法, 问卷调查法, 偏误分析法, 得出他们在习得汉语连动句时所存在的误加, 误代, 错序以及遗漏四类偏误, 并对这些偏误进行概括分析, 探究其偏误的特点和原因. 同时结合对外汉语语法教学的理论依据, 提出笔者在连动句教学中的方法与技巧及完整的连动句教学教案设计, 以期对初中级阶段泰国学生学习汉语连动句有所帮助, 为泰国汉语连动句教学提供一份参考资料, 推动对外汉语教学. คำเชื่อมกริยาในประโยคภาษาจีนเป็นหนึ่งในลักษณะพิเศษของรูปแบบประโยคของภาษาจีนสมัยปัจจุบัน เป็นทั้งจุดสำคัญของการวิจัยภาษาจีน ทั้งยังเป็นปัญหาของการสอนภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศอีกด้วย ในด้านการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นภาษาที่สองนั้น การวิจัยคำเชื่อมกริยานั้นยังไม่เพียงพอ โดยเฉพาะการวิจัยกับนักเรียนไทยยังมีน้อยมาก ดังนั้น วิจัยเล่มนี้ จึงได้นำนักเรียนไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง ใช้ทรัพยากรจากคลังข้อมูลที่เป็นภาษากลาง เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้คำเชื่อมกริยาของนักเรียนไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้วิธีการทางสถิติ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อผิดพลาด มาสรุปผลการเรียนรู้คำเชื่อมกริยาภาษาจีนของนักเรียน จากสี่ลักษณะข้อผิดพลาดที่มีอยู่คือ การเติมคำผิด การใช้คำผิด ลำดับคำผิด และคำที่ขาดหายไปนำข้อผิดพลาดเหล่านี้มาดำเนินการวิเคราะห์สรุปอย่างคร่าวๆ ศึกษาลักษณะและสาเหตุของข้อผิดพลาดเหล่านี้ ในขณะเดียวกันรวบรวมทฤษฎีพื้นฐานของการเรียนการสอนไวยากรณ์เป็นภาษาต่างประเทศเข้าด้วยกันซึ่งผู้เขียนได้เสนอวิธีและทักษะในการสอนคำเชื่อมกริยา รวมทั้งออกแบบแผนการสอนคำเชื่อมกริยาที่สมบูรณ์ เพื่อเป็นประโยชน์กับนักเรียนไทยระดับ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนคำเชื่อมกริยาภาษาจีน เพื่อเสนอข้อมูลอ้างอิงชิ้นหนึ่งของการสอนคำเชื่อมกริยาภาษาจีนในประเทศไทยและส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศ The Chinese serial-verb construction is one of the special sentences of modern Chinese. It is the focus of modern Chinese research and the difficulty of teaching Chinese as a foreign language. In the field of Chinese as a second language teaching, the study of Chinese serial-verb construction is not enough, especially for the study of Thai students is very few. Therefore, this paper takes the Thai students at elementary and intermediate levels as the research object, and uses the intermediary language corpus resources to collect the corpus of the Thai students at elementary and intermediate levels, and use the statistical method, the questionnaire survey method and the error analysis method. The errors, misuse errors, errors and errors in the acquisition of Chinese conjunctions, and the omissions of the four types of errors, and the general analysis of these errors to explore the characteristics and causes of their errors. At the same time, combined with the theoretical basis of grammar teaching in Chinese as a foreign language, the author puts forward the methods and techniques of the author's teaching method in conjunction with the sentence and the complete teaching of the teaching of the dialect, so as to help the Thai students at elementary and intermediate levelsto learn Chinese And dialect teaching provides a reference material to promote teaching Chinese as a foreign language. |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2017 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/774 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tang-Bailing.pdf Restricted Access | 2.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.