Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/782
Title: 泰华作家博夫作品研究
Other Titles: วิเคราะห์งานประพันธ์ของนักเขียนชาวไทยเชื้อสายจีนป๋อฟู
An Analysis of Thai Chinese Oversea Writer's BoFu of Works
Authors: 毛翰
Mao, Han
เหมา, ฮั่น
杨月
Yang, Yue
Keywords: ป๋อฟู
BoFu
นักประพันธ์จีน -- ไทย
Authors, Chinese
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
内容分析
中国小说家 -- 泰国
博夫
Issue Date: 2014
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: พัฒนาการของวรรณคดีจีนในประเทศไทยในยุคแรกๆ ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมจีนอย่างมากโดยวัฒนธรรมเหล่านั้นสะท้อนผ่านงานประพันธ์ของนักประพันธ์เชื้อสายจีนในประเทศไทย ส่งผลให้วรรณคดีจีนในประเทศไทยมีลักษณะเฉพาะตัว วรรณกรรมของชาวจีนโพ้นทะเลในไทยก็เหมือนกับวรรณกรรมของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศอื่นๆ แม้พวกเขาจะอาศัยอยู่ต่างแดน แต่ด้วยความคิดถึงบ้านเกิด จึงรังสรรค์ผลงานซึ่งสะท้อนถึงความรู้สึกนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำงานประพันธ์ของชาวจีนโพ้นทะเล ชื่อ "ป๋อฟู' มาศึกษาเพื่อให้รู้ถึงวัฒนธรรมจีนที่แฝงอยู่ในงานประพันธ์ของเขา รวมถึงการวิเคราะห์ถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมจีนที่มีต่อผู้ประพันธ์ เริ่มจากการศึกษาแนวทางการประพันธ์ของเขาว่าได้รับอิทธิพลของวัฒนธรรมจีนอย่างไร ป๋อฟูเป็นนักประพันธ์ชาวจีนในประเทศไทยที่โดดเด่น แม้จะมีชีวิตที่ไม่ต่างจากนักประพันธ์ชาวจีนในประเทศไทยท่านอื่นๆ กล่าวคือ มาอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานานหลายสิบปี แต่ไม่ว่่าพวกเขาจะมาอยู่เมืองไทยนานเท่าใดก็ตาม เมื่อพวกเขาจะวิพากย์ผู้คนและเรื่องราวรอบๆ ตัว ก็จะใช้มุมมองที่เกิดจากการศึกษาแบบจีนและหลักคุณธรรมแบบจีนมาพิจารณา แม้แต่การสร้างสรรงานประพันธ์ของพวกเข้าก็ยังแฝงไว้ด้วยวัฒนธรรมจีน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ แม้จะเน้นศึกษาวัฒนธรรมจีนผ่านงานประพันธ์ของป๋อฟู แต่ก็ยังได้ศึกษาวรรณกรรมจีนในประเทศไทยในภาพรวมด้วย การศึกษาผลงานของนักประพันธ์จีนในประเทศไทยที่ผ่านมา จะมุ่งศึกษาแต่ผลงานของเจิงซินและเมิ่งลี่ ส่วนผลงานของนักประพันธ์คนอื่นๆ กลับไม่ค่อยเห็นนัก เอกสารอ้างอิงที่มีอยู่ในปัจจุบันก็จะศึกษาแต่เฉพาะประวัติและวิวัฒนาการของวรรณกรรมจีนในประเทศไทยเป็นหลัก สำหรับด้านวัฒนธรรมจีนก็จะเน้นเรื่องการศึกษาในสถาบันการศึกษาทั้งในและนอกประเทศ แต่ที่เน้นศึกษาผลงานประพันธ์ของป๋อฟูในเชิงลึกยังไม่เคยมีมาก่อน ในงานประพันธ์ของป๋อฟู เข้าได้แสดงให้เห็นถึงความคิดและศิลปะการประพันธ์ที่มีเอกลักษณ์ งานประพันธ์ของเขาสะท้อนให้เห็นถึงความคิดคำนึงถึงบ้านเกิด และคุณค่าของวัฒนธรรมจีนซึ่งเป็นจุดที่น่าศึกษา งานประพันธ์ของป๋อฟูยังได้จุดประกายความคิดด้านสังคมด้วย
The Chinese Oversea literature filled with passion but also at a crossroads concerning its developing. Chinese traditional culture continues to shape the outlook of this group of ethnically Chinese writers. These influences reveals themselves in their works, giving Thai Chinese Oversea works an unique character. Thai Chinese Oversea literature, much like other literature written by Chinese Oversea, in essence discusses the development process that has crystallized overseas Chinese writers' dualistic conception of the homeland. This article brings Thai Chinese Oversea writers Bofu literature as a model to analyze their works within the greater context of other Chinese Diaspora literature, merged with an exploratin of the functions of Chinese traditional cultura within these works. By looking through Thai Chinese Diaspora literature and the common trends linking these author's literary works, one can observe the micro dynamics of how Chinese traditional culture influences these author, their works reflect Thai Chinese Oversea writers' conception of China. Most of Thai Chinese writers live in Thailand for decades, but the influence of traditional culture and the homeland culture to them is complex. When look at the people and things around, they will weigh in accordance with the values and morals of Chinese traditional education unconsciously. The researcj about Chinese writers in Thailand focuses on Zengxin and Mengi work. The studying of Bofu's work does not appear. His written style is unique. He express hometown feelings and the focus of the Chinese elements are worth studying in his works. Real social mission became the representative of the window.
泰华文学在既充满热情又彷徨犹豫的过程中发展,而在此过程中中国传统文化给这一批华人作家带来了很大的影响,这些影响在他们的作品当中不自觉地流露出来,使得泰华文学具有了相当的特殊性质。泰国华人文学从它的本质核心上来说,其实和别的国家也是一样的,他们都是这些海外作家在外生活但是心依然系在故国的过程中产生出来的文学果实。本文以泰国华人作家博夫为典型更进一步来看中华传统文化在其作品中的体现并以此来思考中华传统文化对其的影响作用。在博夫文学作品的研究基础上,从作家文学作品的主题倾向等来看中华传统文化在华人作家身上的微妙影响,通过进一步研究总结,也有了一些发现,博夫作为泰国华人作家的一个典型,身上自然折射出同类泰华作家所存在着的一些共性,比如:泰国的这些华人作家大部分都长期居住在泰国,可是不管时间多长,他们在自己的日常生活中在看待和评判周围事物的时候还是会不自觉地带着强烈的中国传统的价值观念,在文学创作中,作品里也常常会有中国传统文化的影子。所以本文在选择博夫作品进行中国传统文化色彩研究的同时,也是一个群体共性的研究。目前泰华文学方面从单个华人作家出发进行系统研究的作品,几乎集中在曾心和梦莉两位作家的研究上,而关于另外一些同样具有研究价值的作家而言,比较针对性的研究不是很常见,现已有的相关文献多以单纯研究泰国华文文学历程或特征为主,而中国文学文化方面,也多以研究教育传统的当代意思以及国内各高校的运用为主,从具体作家作品来进行的影响研究存在着很大的研究空间和空白,针对博夫及其作品来进行的专项系统研究还没有出现,博夫作为泰国华人作家的典型,在作品中表现出了关于思想内容和写作艺术特色上的独特性,博夫作品中的现实社会使命感成为了具有代表性的亮点,在语言风格上,博夫作为华人作家也显现出了相当独特的艺术风格。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/782
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yang-Yue.pdf5.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.