Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/794
Title: 跨文化交际视野下的汉泰天气义场代表词义项分布及其教学策略研究
Other Titles: ศึกษาเรื่องความแตกต่างด้านวัฒนธรรมการใช้คำศัพท์และวิธีการสอนเกี่ยวกับอากาศระหว่างจีน-ไทย
The Study of the Distribution of the Sense of Chinese and Thai Weather Words and the Teaching Strategies under the Cross-Culture Communication
Authors: 李仕春
Li, Shichun
林惠娴
ธัญลักษณ์ ธรรมศิริ
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
ภาษาจีน -- คำศัพท์
Chinese language -- Vocabulary
汉语 -- 词汇
อากาศ
Weather
天气
Issue Date: 2014
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: การศึกษาค้นคว้าฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้าถึง ความแตกต่างด้านวัฒนธรรมการใช้คำศัพท์และวิธีการสอนเกี่ยวกับอากาศระหว่างจีน-ไทย ผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลคำศัพท์ที่เกี่ยวกับอากาศระหว่างจีน-ไทยใน 4 ตัวแทนคำศัพท์ของคำว่า "ร้อน" "อุ่น" "เย็น" และ "แห้ง" ใช้วิธีการค้นคว้าจากคลังข้อมูลภาษา โดยการนำคำศัพท์ใหม่มาเปรียบเทียบความหมายในพจนานุกรมจีนสมัยใหม่เพื่อเกิดความหมายใหม่บนพื้นฐานของพจนานุกรมจีนสมัยใหม่และพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 งานวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกคือ การแนะนำพจนานุกรมจากทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความหมายและการปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของคำศัพท์ที่ถูกแบ่งความหมายออกตามแนวโน้มและโอกาส จากนั้นสรุปหลักการของทั้งสองและแบ่งความหมายของคำคุณศัพท์ ซึ่งเป็นไปตามหลักการของกฎองค์ความรู้ของมนุษย์จากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม โดยใช้พจนานุกรมจีนสมัยใหม่ เปรียบเทียบจากคำคุณศัพท์พยางค์เดียวในเบื้องต้น ส่วนที่ 2 คือ การวิเคราะห์บนพื้นฐานของคลังข้อมูลภาษาจากวิทยานิพนธ์บทแรกถึงบทที่ 4 โดยการเปรียบเทียบและอธิบาย ความหมายใหม่จาก 4 ตัวแทนคำศัพท์ที่เกี่ยวกับอากาศ บนพื้นฐานการวิจัยภาษาศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการทำพจนานุกรม โดยแก้ไขจากการแปลความหมายจากตัวแทนคำศัพท์ที่เกี่ยวกับอากาศจากพจนานุกรมจีนสมัยใหม่และพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ส่วนที่ 3 คือ สรุปผลการทำวิทยานิพนธ์ งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการสนับสนุนเทคโนโลยีคลังข้อมูลภาษา เป็นการวิเคราะห์เชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาค้นคว้าถึงความแตกต่างด้านวัฒนธรรมการใช้คำศัพท์และวิธีการสอน เกี่ยวกับอากาศระหว่างจีน-ไทย ได้รับข้อเสนอแนะการตีความหมายจากเอกสารอ้างอิงทางผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่ศึกษาต่อเกี่ยวกับคำศัพท์ในอนาคต
The objective of this research was to study the distribution of the semantic items of Chinese and Thai representing words about weather and teaching strategies from the perspective of cross-cultural communication, using qualitative and quantitatibe methods. In this paper, four representing words "hot", "warm", "cool" and "dry" are choose as the research object to re-mean the distribution of their meaning in modern Chinese based on corpus. The complex words included both in Modern Chinese Dictionary and Thai dictionary. This paper is divided into three parts. The first part is an introduction, summarizing two priciples of adjective, especially the division of adjective semantic division and simply dividing the items of monosyllabic core adjectives. The second part is the first chapter to the fourth, which re-describes the meaning distribution of "hot", "warm", "cool", "dry" in Chinese based on the large number of corpus and then proposed humbel revising opinion of the representing words about weather, especially the research on lexicogrphy. The third part is the conclusion, which summarizes the paper and explains the inadeuqacies of the paper. This article focuses on the analysis and the study of the four representing words about weather in Chinese in support of the corpus technical, using combined quantitative and qualitative analysis. In Modern Chinese Dictionary, hoping to provide data support for further research.
本研究旨在研究跨文化交际视野下的汉泰天气义场代表词义项分布及其教学策略,为定性定量方法。本文以汉泰天气义场中的 4个代表字“热”、“暖”、“凉”、“燥”为研究对象,运用语料库技术方法,对其在现代汉语中的义项分布情况进行了重新义项,并在此基础上对《现代汉语词典》和《泰语词典》中这 4个代表字的义项描写及复字词收录等方面进行献疑。 文章共分为三部分。第一部分为绪论,从与词典编纂相关的语义场理论与划分实践,特别是形容词语义场的划分方面进行回顾与展望,在此基础上,总结出了形容词语义场的两大划分原则:遵循客观性原则、遵循人类从具体到抽象的认知规律原则,并对《现汉》中单音核心形容词的语义场进行了初步划分。第二部分为论文的第一到第四章,在分析大量语料的基础上,对 4 个天气属性义场中的代表字在现代汉语中的义项分布情况进行了重新描写,并在此基础上,结合同场同模式等语言学特别是词典学研究成果,对《现汉》和《泰语词典》天气义场中代表字的义项释义及收词等方面提出了修改拙见。第三部分为论文结语,对全文进行归纳总结并说明了文章的不足之处。 本文主要是在语料库技术的支撑下,采用定量分析与定性研究相结合的方法,对现代汉语天气属性义场中的代表字进行了相关分析研究,收词释义方面提出了参考性建议,希望能够为以后相关方面的进一步研究提供数据支撑。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/794
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanyalak-Thamasiri.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.