Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/803
Title: | 泰国乌汶府高中中国文化教学情况研究----以乌汶易三仓学校与日康恒中学为例 |
Other Titles: | การศึกษาวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้วัฒนธรรมจีนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย : กรณีศึกษา โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี และโรงเรียนลือคำหาญวารินชำราบ A Study on Teaching Chinese Culture in High Schools in Ubonratchathani Thailand : Based on the Example of Assumption College Ubonratchathani and Lukhamhan Warinchamrab School |
Authors: | 李志艳 Li, Zhiyan 吴志源 รชต ศิลาวัชรานนท์ |
Keywords: | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Chinese language -- Study and teaching (Secondary) 汉语 -- 学习和教学 (中学) วัฒนธรรมจีน Culture -- China 中国文化 โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี โรงเรียนลือคำหาญวารินชำราบ Assumption College Ubonratchathani Lukhamhan Warinchamrab School |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมจีนเป็นส่วนประกอบสำคัญในการเรียนการสอนภาษาจีน ซึ่งเป็นภาษาต่างประเทศ การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาจีน มีจุดประสงค์หลักเพื่อการพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารภาษาต่างประเทศสำหรับนักเรียนโดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่มีคุณภาพต้องมีการสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับวัฒนธรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและใช้ภาษาตามมารยาทสังคมได้อย่างถูกต้อง วิทยานิพนธ์เล่มนี้ ได้สำรวจกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนแผนการเรียนศิลป์ - ภาษาจีน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และครูผู้สอนวิชาภาษาจีนของโรงเรียนมัธยมศึกษาสองแห่งในจังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามและแบบทดสอบเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ทราบถึงระดับความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมจีนของผู้เรียนเข้าใจถึงสภาพการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมจีน ทัศนคติของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนวัฒนธรรมจีน และอุปสรรคในการจัดการเรียนรู้วัฒนธรรมจีน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมจีนของแผนการเรียนศิลป์-ภาษาจีน โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี และโรงเรียนลือคำหาญวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ยังต้องการมีแก้ไขและปรับปรุงในส่วนของรูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ควรมีการเพิ่มรายวิชาวัฒนธรรมจีนเข้าไปในหลักสูตรภาษาจีนของโรงเรียน มีการผลิตสื่อการสอนเกี่ยวกับวัฒนธรรมจีนอย่างมีคุณภาพ พร้อมทั้ง ยกระดับประสิทธิภาพการเรียนรู้โดยการจัดกิจกรรมทัศนศึกษายังสถานที่ทางวัฒนธรรมจีนต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศส่งเสริมผลักดันกิจกรรมนิทรรศการเพื่อการเรียนรู้วัฒนธรรมจีนอย่างมีคุณภาพและชัดเจนมากยิ่งขึ้น Teaching Chinese culture is an integral part of teaching - which is a foreign language - Chinese language. Chinese language education seeks to develop student's foreign language communication skills. A high-quality Chinese language education model must consist of topis of Chinese culture in its curriculum; this is to promote students understaning of the native Chinese culture, and enable them to use the language appropriately in accordance with soical etiquette. In this thesis, the sample group-students in the Chinese-language art program and Chinese language teachers in two schools situated in Ubon Ratchathani, Thailand- has been surveyed. A questionnaire and test has been used as tools for data collection and assessment in gauging the participants' level of knowledge and understanding of Chinese culture, understanding of context of Chinese culture education, attitude towards the study of Chinese culture and obstacles in teaching Chinese culture. The finding shows that the Chinese culture education delivered by the Chinese-language art program in Assumption College Ubonratchatani and Lukhamhan Warinchamran School which are situated the province of Ubon Ratchathani still needs to be improved and modified continually in terms of teaching methods. Chinese culture should be included as a subject in the curriculum of the school's Chinese language program, also high-quality Chinese-culture course materials should be developed. Additionally, the learning efficiency is to be improved by organizing school field trips to either domestic or abroad heritage sites; giving a support to education fair will substanially materialize the efficiency in Chinese culture learning. 中国文化教学是国际汉语教学的重要组成部分,汉语教育旨在发展学生的外语交流能力。高质量的汉语教学模式必须在课程中包含中国文化主题,这是为了促进学生对中国文化的理解,并使他们能够根据社交礼仪适当地使用该语言。 本文从选题背景、选题目的、意义和研究方法,综述对中国文化教学做了研究,从汉语课程设置、教材使用、教学条件等方面全面介绍了泰国乌汶府易三仓学校和乌汶日康恒中学的中国文化教学情况,以汉语教师与高中汉语选修班学生作为样本案例,分别从教师、学生、教材、教学方法等方面全面分析教学对象、教学目标、教学内容,并提出相应的建议。 本文对样本组进行了调查,调查对象是泰国乌汶府的两所学校的汉语选修班的学生和中文教师。问卷和测试是数据收集和评估的工具,以衡量参与者对中国文化的了解程度,对中国文化教育背景的了解,对中国文化研究的态度以及中国文化教学的障碍。 经过本文的研究项目能看到泰国东北部乌汶府易三仓学校与和乌汶日康恒中学的汉语选修班课程所提供的中国文化教育仍需要在教学方法方面不断改进和修改。在学校的汉语课程中,应将中国文化作为一门学科,还应开发高质量的中国文化相关课程资料。此外,通过组织学校实地考察文化点来提高学习效率;支持教育博览会将大大提高中国文化学习的效率。 |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/803 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RACHATA-SILAVAJRNON.pdf Restricted Access | 6.59 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.