Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/815
Title: | 抛锚式教学法在对外汉语口语课教学中实践模式研究----以泰国北揽府邦博中学学生为例 |
Other Titles: | การศึกษาวิจัยการใช้วิธีการสอนแบบ ANCHORED INSTRUCTION ในการจัดการเรียนการสอนวิชาการพูดภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศสำหรับนักเรียนไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนบางบ่อวิทยาคม จังหวัดสมุทรปราการ Research Example in the Practice Mode of the Anchored Instruction Teaching Method in Teaching Chinese Speaking as a Foreign Language for Student in Bangbo Witthayakhom School Samutprakarn Province Thailand |
Authors: | 熊柱 Xiong, Zhu 宋丽娜 สิริญา ทรงกิตติกุล |
Keywords: | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Chinese language -- Study and teaching (Secondary) 汉语 -- 学习和教学 (中学) ภาษาจีน -- บทสนทนาและวลี Chinese language -- Conversation and phrase books 汉语 -- 对话和短语 ภาษาจีน -- การพูด Chinese language -- Speech 汉语 -- 口语 |
Issue Date: | 2018 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | 对外汉语的口语教学是对外汉语教学的一门重要课程, 一般被认为是一门培养学生在实际生活中直接运用汉语进行交际的能力的技能训练课. 口语课教学对零基础的学生学习汉语来说是获得汉语知识并能够运用的重要途径. 抛锚式教学法的教学方式是在真实情境下进行的, 以学生为中心, 注重培养学生的自主学习的能力. 本文将抛锚式教学法运用于汉语口语课堂教学, 以北揽府邦博中学高中一年级为研究对象, 通过一个学期的教学实践, 试图验证抛锚式教学法是否能够调动口语课的课堂气氛, 激发学生的口语学习兴趣, 提高学生的自主学习能力, 以及是否能够解决学习汉语口语难点. 希望本研究可以丰富汉语教师口语课堂的教学方法, 提高泰国学生的口语能力水平. 经过一段时间的实践, 可以看出大部分学生在直接运用汉语进行交际能力有很明显的提高, 也能够大胆直接地运用学到的汉语口语知识进行沟通, 并且很自然. 在汉语口语学习方面, 大部分学生对汉语口语的学习表现出明显的兴趣, 激发了学生们学习的积极性和提高了学生自主学习的能力和协作学习的能力. 90%学生的汉语口语取得了很大的进步, 对该教学方式十分满意. 可以说抛锚式教学法的教学方式很适合泰国学生学习汉语口语, 也能够解决汉语口语课堂上不能给学生提供足够多的的练习时间的口语学习的难点, 有助于提高学生的汉语口语水平. 本研究对抛锚式教学法在汉语口语中的运用提出了一些具体的建议, 以其对今后的口语教学提供一些借鉴和参考. การจัดการเรียนการสอนวิชาการพูดภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศนั้น ถือเป็นอีกหนึ่งรายวิชาสำคัญอย่างยิ่ง เป็นรายวิชาที่ใช้ภาษาจีนจัดกระบวนการเรียนรู้โดยตรง เพื่อฝึกฝนทักษะที่ใช้จริงในชีวิตประจำวันแก่นักเรียน สำหรับผู้เรียนที่เริ่มต้นจากศูนย์เป็นพื้นฐานแล้วนั้น วิชาการพูดภาษาจีนเป็นอีกหนึ่งเส้นทางสำคัญที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้และประยุกต์ใช้ภาษาจีนอย่างแท้จริง ซึ่งการใช้วิธีการสอนแบบ Anchored Instruction เป็นรูปแบบการสอนที่สอดคล้องและดำเนินการบนสถานการณ์อ้างอิง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง งานวิจัยนี้ได้นำเอารูปแบบการเรียนการสอนดังกล่าวมาใช้ในรายวิชาการพูดภาษาจีน สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนบางบ่อวิทยาคม จังหวัดสมุทรปราการ ในระยะเวลา 1 ภาคเรียนเพื่อวิจัยว่าวิธีการสอนนี้สามารถเปลี่ยนแปลงบรรยาการศการเรียนการสอนวิชาการพูดภาษาจีนและกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการพูดภาษาจีนมากขึ้น ตลอดจนถึงส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองและเพื่อแก้ไขจุดบกพร่องของการเรียนการพูดภาษาจีนของนักเรียนได้หรือไม่ เมื่อได้นำวิธีการสอนแบบ Anchored Instruction กับรายวิชาการพูดภาษาจีน ในหนึ่งภาคเรียนแล้วสามารถพิสูจน์ได้ว่านักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะการสื่อสารภาษาจีนเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน นักเรียนสามารถใช้ภาษาจีนสื่อสารอย่างไม่เขินอายและเป็นธรรมชาติ นักเรียนมีความสนุกสนานและกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนสนใจและใส่ใจต่อการเรียนวิชาการพูดภาษาจีน โดยจำนวน 90 เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนมีการพัฒนาขึ้น และพึงพอใจต่อวิธีการเรียนการสอนดังกล่าว จึงกล่าวได้ว่า วิธีการสอนแบบ Anchored Instruction นั้นเหมาะสมกับนักเรียนไทยสำหรับการเรียนรู้ในรายวิชาการพูดภาษาจีน และยังสามารถแก้ไขจุดบกพร่องของการเรียนการพูดภาษาจีนที่มีข้อจำกัดเรื่องเวลาได้เป็นอย่างดี เป็นวิธีการสอนที่เหมาะสมกับการสื่อสารในสถานการณ์จริง และเพิ่มความมั่นใจในการใช้ภาษาจีนสื่อสารของนักเรียนได้เป็นอย่างดี ผู้วิจัยหวังว่าวิจัยนี้จะสามารถเป็นวิทยาทานแก่ครูผู้สอนภาษาจีนและพัฒนาความสามารถด้านภาษาจีนของนักเรียน Oral teaching in Chinese is an important method in teaching Chinese as a foreign language. It is generalyy considered as a skill development course to develop student's ability to use Chinese to communicate in real life. It is an effective way for students to acquire Chinese speaking ability and use it. This anchores teaching method is carried out in real situation, focussing on the student and in developing the student's ability to study independently. This article will use the archored instruction teaching method of oral teaching in Chinese to Mattayom 4 students at Bangbo Wittayakom School. Through a semester of teaching practice, it will be verified if the anchored pedagogy can stimulate the learning atmosphere of oral Chinese classes, kindel the students' interest in oral Chinese learning, and improve students' independent learning ability. And whether it can solve the difficulties in learning spoken Chinese. After a period of practice, it can be observed that the Chinese communication skills of most of the students have improved. Most of the students have been able to fluently and naturally communicate in Chinese and clearly showed interest in learning spoken Chinese. 90% of the students made a great progress in spoken Chinese and were very satisfied with the teaching method. It can be said that this teaching method is very suitable for Thai students, can solved the difficulty in learning due to lack of practice time for students during the oral learning in Chinese, thereby helping students improve their Chinese speaking ability. It is hoped that this study can enrich the teaching methods of the teachers and improve the Chinese speaking ability level of Thai students. |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2018 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/815 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SIRIYA-SONGKITTIKUN.pdf Restricted Access | 4.4 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.