Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/832
Title: | 泰国高中生汉语比喻辞格偏误分析与泰语比喻辞格对比研究--- 以龙成学校高中汉语专业班为例 |
Other Titles: | การศึกษาการใช้คำอุปมาระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย : กรณีศึกษา นักเรียนแผนการเรียนภาษาจีนของโรงเรียนนาคประสิทธิ์ A Comparative Study on the Use of Simile between Chinese and Thai among Secondary School Students : A Case Study of Chinese Language Program Students of Nakprasith School |
Authors: | 李超 Li, Chap 林丽莎 อลิษา เกียรติประชา |
Keywords: | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน Chinese language -- Study and teaching 汉语 -- 学习和教学 อุปมาอุปไมย Chinese language -- Idioms ภาพพจน์ Thai language -- Idioms ภาษาไทย -- การใช้ภาษา ภาษาจีน -- การใช้ภาษา 汉语 -- 语言使用 泰语 -- 能力测试 Chinese language -- Usage |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | 比喻是一种常用的修辞手法, 用跟甲事物有相似之点的乙事物来描写或说明甲事物. 即以甲事物来比拟乙事物. 它在形式上, 具有本体, 喻体和比喻词三个成分. 比喻是把抽象的事物变得具体, 正是由于比喻的应用范围之广, 不仅在汉语的学习中使用频率极高, 在泰语言的习得中更是有着至关重要的作用. 本文最先分别介绍了汉泰中的比喻修辞格, 汉语教学等基本理论, 然后采用语料分析法, 调查法, 对比分析法, 访谈法, 和案列教学法设计出针对泰国学生汉语比喻辞格运用的调查问卷, 并且搜集学生的作业进行正误分析研究. 本文主要对汉泰比喻辞格进行了对比分析, 说明了汉泰比喻在设喻上有相同的地方也有不同的地方. 从宗教信仰, 社会观念和自然环境的文化角度分析了汉泰比喻应用的差异. 除此之外, 本文还通过调查问卷和对学生的作业的分析, 总结出泰国学生运用汉语比喻辞格的偏误类型及原因, 主要从文化背景, 母语负迁移, 目的语负迁移, 教学误导, 学生学习的态度等方面来分析原因, 并提出了相应的教学建议. 希望通过对汉泰比喻辞格的对比分析, 将汉泰比喻的研究成果应用于教学中, 可以加深泰国学生对汉泰比喻辞格的理解和掌握, 提高泰国学生交谈的水平能力. อุปมาเป็นกลวิธีหนึ่งทางสุนทรียศาสตร์ซึ่งใช้สำหรับเปรียบของสองสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันโดยประกอบด้วยโครงสร้างทางภาษา 3 ส่วน คือ สิ่งที่ถูกเปรียบเทียบ สิ่งที่นำมาเปรียบเทียบ และคำศัพท์ที่ใช้ในการเปรียบ จะเห็นได้ว่าปัจจุบันอุปมานิยมใช้ทั้งในภาษาจีนและภาษาไทย เนื่องจากเป็นการเปรียบเทียบจากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม จึงส่งผลให้สามารถสร้างความเข้าใจในการสื่อสารมากขึ้น งานวิจัยนี้เริ่มต้นด้วยการให้รายละเอียดเบื้องต้นเกี่ยวกับประเภทของการเปรียบทั้งภาษาไทยและภาษาจีน ศึกษาทฤษฎีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนเบื้องต้น จากนั้นนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นมาจัดทำแบบสอบถามเกี่ยวกับการเปรียบให้เหมาะกับนักเรียนไทยแล้วนำไปเก็บข้อมูลกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เพื่อหาสาเหตุข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการใช้ประโยคในการเปรียบของกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการใช้ประโยคในการเปรียบของกลุ่มตัวอย่างเกิดจากความแตกต่างด้านวัฒนธรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศจีนทั้งด้านความเชื่อทางศาสนา และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ รวมไปถึงปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนที่ครูผู้สอนยังไม่เน้นเนื้อหาที่เกี่ยวกับการใช้คำอุปมาและความแตกต่างด้านความรู้ความสามารถของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการวิจัยการใช้คำอุปมาระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยจะสามารถนำไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถด้านการใช้ประโยคในการเปรียบมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถยกระดับความสามารถด้านการสื่อสารของนักเรียนไทยให้สูงขึ้น Simile is a figure that makes a comparisom showing similarities between two different things. It composes three parts: subject that is being compared comparison used ti describe the subject; vocabulary comparion. Simile is popular used both Chinese and Thai language because it compassed from intangibles to tangibles which effects to more understanding. Thsi research begins with a descriptiom of types of simile both Thai and Chinese language and theory of learning and teaching basic Chinese language. Then it goes on to make a comparisom questionnaire based on data analysis which according to Thai students who are the sample. The data analysis goes on to explain the causes of mistakes of composing sentence: The cultural reference between Thailand and China both religious beliefs and environment; the problem of teaching method that still not focus on the content of simile and the difference of sample capabilities. The researcher hopes that the research will be useful for improving the learning and teaching Chinese language method in Thailand and developing students abilities. |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2017 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/832 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Alisa-Kiatpracha.pdf Restricted Access | 2.16 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.