Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/848
Title: 泰国中学对外汉语文化教学中非语言文化教学 现状研究----以泰国易三仓是拉差中学为例
Other Titles: การศึกษาสภาพการใช้อวัจนภาษาสำหรับการเรียนการสอนวัฒนธรรมภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาในประเทศไทย --- กรณีศึกษาโรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชา
The Present Situation Study about Non-Linguistic Teaching of Teaching Chinese as a Foreign Language in Middle School of Thailand -- the ACS School in Sriracha Thailand as an Example.
Authors: 李寅生
Li, Yinsheng
何伟民
He, Weimin
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
Chinese language -- Study and teaching (Secondary)
汉语 -- 学习和教学 (中学)
ภาษาท่าทาง
手势语言
Body language
การสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูด
Nonverbal communication
无语言交流
Issue Date: 2014
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ประเทศไทยและประเทศจีนมีการสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมานับ 40 ปีและจำนวนคนที่เรียนภาษาจีนในประเทศไทยก็มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ แต่เนื่องจากความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของทั้งสองประเทศ ทำให้การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยยังคงมีปัญหาที่เด่นชัดอยู่ ขณะที่ครูอาจารย์ที่สอนภาษาจีนในประเทศไทยดำเนินการสอนภาษาจีนนั้น อาจเกิดข้อผิดพลาดทางด้านการสื่อสารบ่อยครั้ง ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในด้านแบบเรียนและวิธีการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับนักเรียนนักศึกษาไทย โดยต้องมีการสอดแทรกและถ่ายทอดวัฒนธรรมจีนให้กับนักเรียนชาวไทยได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพอันจะเป็นการยกระดับผลการเรียนรู้ได้อีกด้วย วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาสภาพความแตกต่างของการสื่อสารโดยอวัจนภาษาระหว่างไทยจีน ภายใต้บริบทของวัฒนธรรมไทย โดยมีโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา เป็นกรณีศึกษา ซึ่งมีการอ้างอิงทฤษฎีจากการทบทวนวรรณกรรม ผลการศึกษาพบว่า ขณะที่นักเรียนชาวไทยเรียนภาษาจีนนั้นมักได้รับผลกระทบทางวัฒนธรรมในระดับที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านความมีระเบียบวินัยในชั้นเรียน ความเคยชินในการเรียนและการดำเนินชีวิต รวมถึงปฏิกิริยาที่มีต่อครูและหนังสือเรียน เป็นต้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการสำรวจ โดยการสัมภาษณ์และการตอบแบบสอบถาม หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์ สรุปปัญหาที่พบ พร้อมกับเสนอวิธีแก้ไข ซึ่งสามารถใช้เป็นแนวทางในการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยต่อไปได้
Since the eatablishment of diplomatic relations betweeb China and Thailand has been nearly 40 years, numbers of Thai people learning Chinese is increasing year by year. The momentum is fast, but the problems are also prominent. When Chinese teachers in the teaching in Thailand, because of the cultural difference between two countries, it will inevitably cause a lot of communication error, this requires that we should seriously consider how to improve in the aspects of teaching material and teaching method for the students of Thailand, so as to accurately and effectively the transmission of Chinese culture to the students of Thailand. In order to achieve a better teaching effect. This paper is using the theory of previous books, as well as the search results of previous studies, based on the Thailand ACS middle school as the research background, to explor the China-Thai nonverbal differences related content. The survey found that there are different levels of negative transfer of culture, such as Thailand high school students in learning Chinese, in the classroom discipline, learning and living habits, to the teacher and textbook reaction, as well as the Chinese teachers in the teaching process and so on. The above phenomena, through interview and questionnaire as well as reference to previous literature, analysised, summarized some problems, and put forward corresponding countermeasures. Hope to offer reference for the future teaching Chinese as a foreign language in Thailand.
中泰建交已将近 40 年,在泰国国内学习汉语的人数亦成递增之势。势头总体是很旺盛的,然而问题也是突出的。泰国的汉语教师在教书过程中,由于两国种种的文化差异,也难免会造成许多的交际偏误,这就要求我们应认真思考该如何在针对泰国学生的教材和教学方法方面上有所改进,以求尽量准确、有效的将中国文化传递给泰国学生,从而达到更好的教学效果。 本文是在泰国文化的背景下,通过前人书籍中的理论指导,以及搜索前人的研究成果,以对泰国易三仓是拉差中学为调查背景,来探讨中泰非语言交际的差别相关的内容。经调查发现,泰国中学生在学习汉语时,在课堂纪律、学习和生活习惯、对老师和教材的反应等,以及中国老师在教书过程中,均出现了不同程度的文化负迁移。本文就以上一些现象,通过面谈和调查问卷以及参考前人的文献等,做了深入的调查分析,总结出了一些问题,并提出相应的解决对策。希冀能对今后泰国的对外汉语教学起到一定的参考作用。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/848
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
He-Weimin.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.